350 likes | 592 Views
1106342 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce). หนังสือ และเว็บไซต์. 1. Jeffrey F. Rayport , Bernard J. Jaworski , e-commerce 2. กิตติ ภักดีวัฒนะกุล , คัมภีร์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) 3. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มุมมองด้านการบริหาร , โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์
E N D
1106342พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
หนังสือ และเว็บไซต์ 1. Jeffrey F. Rayport, Bernard J. Jaworski, e-commerce 2. กิตติ ภักดีวัฒนะกุล, คัมภีร์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) 3. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มุมมองด้านการบริหาร, โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์ 4. 5.e-Commerce Success Case Study, ดร.ภิเษก ชัยนิรันดร์ 5. SEO (Search Engine Optimization), สุธี จันทร์แต่งผล 6. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์, ดร.ศุภชัย สุขะนินทร์ 7. http://www.opencart.com
แผนการสอน • คำอธิบายรายวิชา เครื่องมือและเทคโนโลยีที่จำเป็นสำหรับพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ เทคนิคและการจัดการที่ เหมาะสมกับพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ พัฒนาโครงงานพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์กฎหมายและจรรยาบรรณที่เกี่ยวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ Tools and technology for electronic commerce. Suitable techniques and management. Develop E-commerce project to gain experience. Law and ethic.
การประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน • การมาเรียน 5% • งานกลุ่ม + การนำเสนอ 35% • Quiz 10% • สอบกลางภาค 25% • สอบปลายภาค 25% รวม 100 %
บทที่ 1แนะนำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1.1 การประยุกต์ใช้ E-Commerce 1.2 โครงสร้างพื้นฐาน 1.3 การสนับสนุน E-Commerce 1.4 การจัดการ E-Commerce
บทที่ 1แนะนำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1.1 การประยุกต์ใช้ E-Commerce • ด้านการค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (E-Retailing) - บทที่ 2 • ด้านการโฆษณาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Advertisement) - บทที่ 3 • ด้านการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Auction) - บทที่ 4 • ด้านการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Service) - บทที่ 5 • ด้านรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) - บทที่ 6 • ด้านโมบายคอมเมิร์ซ (M-Commerce) - บทที่ 7
1.2 โครงสร้างพื้นฐาน (E-Commerce Infrastructure) • ระบบเครือข่าย (Network) • ช่องทางการติดต่อสื่อสาร (Channel Communication) • การจัดรูปแบบและการเผยแพร่เนื้อหา (Format and Content Publishing) - บทที่ 8 • ระบบรักษาความปลอดภัย (Security) - บทที่ 9
1.3 การสนับสนุน (E-Commerce Supporting) • การพัฒนาระบบงานอีคอมเมิร์ซ (E-Commerce Application Development) - บทที่ 10 • การวางแผนกลยุทธ์อีคอมเมิร์ซ (E-Commerce Strategy) • กฎหมายการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce Law) - บทที่ 11 • การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration) - บทที่ 12 • การทำ SEO - บทที่ 13
1.4 การจัดการ E-Commerce(E-Commerce Management)
E-Business VS E-Commerce E-Business E-Commerce E-Business ไม่ใช่เป็นแต่เพียงกิจกรรมการซื้อ-ขายเท่านั้น แต่ยังครอบคลุม ไปถึงกิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การบริการลูกค้า และกระบวนการทางธุรกิจทั้งภายใน และภายนอกองค์กร โดยมีการเชื่อมโยงในลักษณะเครือข่าย
E-Business VS E-Commerce • E-Business หมายถึง กระบวนการดำเนินธุรกิจโดยอาศัยเทคโนโลยีเครือข่ายที่เรียกว่าองค์กรเครือข่ายร่วม (Internetworked Enterprise) โดยเทคโนโลยีนี้จะใช้การติดต่อสื่อสารระหว่างกันผ่านช่องทางโครงข่ายโทรคมนาคม (Telecommunication Network) ไม่ว่าจะเป็นการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) การติดต่อสื่อสารและการทำงานร่วมกัน (Enterprise Communication and Collaboration) หรือแม้แต่ระบบธุรกิจภายในองค์กร (Internal Business System)
E-Business VS E-Commerce • E-Commerce หมายถึง Electronic + Commerce • E-Commerce หมายถึงการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกันผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทั้งนี้ข้อมูลข่าวสารที่ใช้แลกเปลี่ยนระหว่างกันนั้น สามารถที่จะช่วยสนับสนุนให้บรรลุผลของการนำเสนอสินค้าและบริการ • E-Commerce หมายถึง เทคโนโลยีที่ช่วยสนับสนุนเพื่อการทำธุรกรรม เช่น ระบบ ATM , EDI เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อนำเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้บริหารจัดการธุรกิจ • E-Commerce หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้เป็นสื่อกลางในการนำเสนอสินค้าและบริการผ่านทางจอภาพคอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดี ซึ่งเปรียบเสมือนร้านค้าเสมือนจริง (Virtual Market) โดยที่ผู้บริโภคไม่จำเป็นต้องเดินทางมายังสถานที่จริง เพียงแต่เข้าสู่ระบบโดยใช้เทคโนโลยีที่ช่วยสนับสนุน เช่น Internet
E-Business VS E-Commerce • E-Commerce หมายถึง สิ่งอำนวยความสะดวกที่จะช่วยส่งเสริมกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นทั้งภายในและ/หรือ ภายนอกองค์กรทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อให้บรรลุผลในการดำเนินธุรกิจ • E-Commerce หมายถึง รูปแบบทางธุรกิจทุกรูปแบบที่เกี่ยวเนื่องกับการประมวลผลและการส่งผ่านข้อมูล ดิจิตอล รวมทั้งข้อมูล เสียง และภาพเคลื่อนไหว โดยรวมถึงผลที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่มีผลดีต่อองค์กร “ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า ธุรกรรมที่กระทำขึ้น โดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน
วิวัฒนาการของ E-Commerce Electronic Fund Transfer (EFT) Electronic Data Interchange (EDI) Electronic Commerce (E-Commerce)
ประเภทของ E-Commerce • กลุ่มธุรกิจที่ค้ากำไร (Profits) ธุรกิจ (Business) ผู้บริโภค (Consumer) ธุรกิจ (Business) ผู้บริโภค (Consumer) B2B C2B B2C C2C
ประเภทของ E-Commerce • กลุ่มธุรกิจที่ไม่ค้ากำไร (Non-Profits) • Business-to-Employee (B2E) • เป็นรูปแบบการดำเนินธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานให้ดียิ่งขึ้น โดยนำมาใช้สำหรับแลกเปลี่ยนข่าวสารและสารสนเทศภายในองค์กร • รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • เป็นการดำเนินธุรกรรมที่ภาครัฐได้นำสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาบนิการแก่ภาคประชาชนเพื่อปรับปรุงการบริการแก่ประชาชนทั่วไป • ภาครัฐกับประชาชน (Government-to-Citizens : G2C) • ภาครัฐกับภาคธุรกิจ (Government-to-Business : G2B) • ภาครัฐกับภาครัฐ (Government-to-Government : G2G) • ภาครัฐกับพนักงานของรัฐ (Government-to-Employee : G2E)
ข้อแตกต่างระหว่างการทำธุรกิจทั่วไปกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้อแตกต่างระหว่างการทำธุรกิจทั่วไปกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • ฝั่งผู้ซื้อ
ข้อแตกต่างระหว่างการทำธุรกิจทั่วไปกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้อแตกต่างระหว่างการทำธุรกิจทั่วไปกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • ฝั่งผู้ขาย
ข้อแตกต่างระหว่างการทำธุรกิจทั่วไปกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้อแตกต่างระหว่างการทำธุรกิจทั่วไปกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ข้อแตกต่างระหว่างการทำธุรกิจทั่วไปกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้อแตกต่างระหว่างการทำธุรกิจทั่วไปกับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • การเพิ่มประสิทธิภาพ และประสิทธิผล • การตอบสนองเพื่อการแข่งขัน • การให้บริการได้ตลอด 24 ชั่วโมง • การควบคุมและปฏิสัมพันธ์ได้ด้วยตนเอง • การสร้างร้านค้าเสมือนจริง • การติดตามพฤติกรรมของผู้บริโภค • โครงข่ายเศรษฐกิจ • การส่งเสริมภาพลักษณ์อันดี
ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • ข้อดีด้านองค์กร • องค์กรสามารถเข้าถึงลูกค้าได้เป็นจำนวนมากจากทั่วทุกมุมโลก ทำให้สามารถกระจายสินค้าได้อย่างรวดเร็วและประหยัดค่าใช้จ่ายการดำเนินงาน • องค์กรสามารถจัดหาสินค้าและบริการจากผู้จำหน่ายแหล่งอื่นๆได้โดยตรงและรวดเร็ว • องค์กรสามารถเจาะกลุ่มของลูกค้าที่เป็นเป้าหมายได้โดยง่าย สะดวก และรวดเร็วโดยมีค่าใช้จ่ายที่ต่ำลง
ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • ข้อดีด้านลูกค้า • ลูกค้าสามารถสั่งซื้อสินค้าและบริการได้ทุกสถานที่ ตลอดเวลาผ่านทางเว็บไซต์บนเครือข่าย Internet • ลูกค้าสามารถซื้อสินค้าและบริการในราคาที่ลดต่ำกว่าเดิม • ลูกค้าสามารถได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสินค้า และบริการที่ทันสมัยได้อย่างรวดเร็ว และตลอดเวลาผ่านทาง E-Mail หรือเว็บไซต์
ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • ข้อดีด้านสังคม • ผู้คนเดินทางออกไปข้างนอกลดลง ทำให้ลดปัญหาการจราจร และลดมลพิษ • ผู้คนมีมาตรฐานในการครองชีพที่ดีขึ้น เนื่องจากสินค้าและบริการมีราคาที่ถูกลง • สนับสนุนและส่งเสริมด้านเศรษฐกิจโดยรวม ทำให้การเจริญเติบโต มั่งคั่ง และยั่งยืนต่อไป
ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • ข้อเสียด้านเทคนิค • มาตรฐานด้านคุณภาพ ความปลอดภัย และระดับความน่าเชื่อถือยังไม่มีความแน่นอน • โปรแกรม หรือซอฟต์แวร์อีคอมเมิร์ซ มีการพัฒนาและปรับเปลี่ยนบ่อยครั้ง และรวดเร็ว • การประยุกต์ใช้อีคอมเมิร์ซมีความสลับซับซ้อน จำเป็นต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการสร้างและพัฒนา
ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้อดีและข้อเสียของการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • ข้อเสียด้านอื่นๆ • ตัวบทกฎหมายในบางมาตรา และด้านภาษียังไม่ได้รับการปรับปรุงให้มีความเหมาะสม • ผู้ขายและผู้ซื้อยังมีความกังวลด้านความปลอดภัย • E-Commerce ยังเป็นสิ่งใหม่สำหรับบางองค์กร ทำให้เกิดความลังเลที่จะนำมาใช้งาน
ปัญหาปกติที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของธุรกิจ E-Commerce • ปัญหาด้านความน่าเชื่อถือบนเว็บ • ปัญหาด้านภาษา • ปัญหาด้านวัฒนธรรม • วัฒนธรรมและรัฐบาล • ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
EFT EDI EDI EFT E-Commerce EFT E-Business