110 likes | 292 Views
การจ่ายค่าตอบแทน ตามผลการปฏิบัติงาน (Pay for Performance : P4P). นพ.ทวีเกียรติ บุญยไพศาลเจริญ คณะทำงานจัดทำคู่มือการจ่าย ค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน. หลักการค่าตอบแทนกำลังคนด้านสาธารณสุข ครม. เห็นชอบเมื่อ 3 พฤษภาคม 2554.
E N D
การจ่ายค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน(Pay for Performance :P4P) นพ.ทวีเกียรติ บุญยไพศาลเจริญ คณะทำงานจัดทำคู่มือการจ่าย ค่าตอบแทนตามผลการปฏิบัติงาน
หลักการค่าตอบแทนกำลังคนด้านสาธารณสุขหลักการค่าตอบแทนกำลังคนด้านสาธารณสุข ครม. เห็นชอบเมื่อ 3 พฤษภาคม 2554 ส่วนที่ 3เพิ่มประสิทธิภาพทั้งใน/นอกเวลาราชการ ค่าตอบแทนสะท้อนภาระงาน ทำมากได้มาก 3. P4P OT 10,287 ลบ. ส่วนที่ 2ธำรงรักษาวิชาชีพ ขาดแคลนและรักษาคนไว้ในพื้นที่พิเศษ 2. พื้นที่พิเศษ (ฉ. 4/6/7 5,800 ลบ.) + วิชาชีพขาดแคลนและจำเป็น (พ.ต.ส. 3,668 ลบ.) ส่วนที่ 1ตามคุณวุฒิ/ประสบการณ์ 1. เงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง (49,238 + 3,271 ลบ.) ตัวเลขในวงเล็บ เป็นงบประมาณปี 2556
มติ ครม. อนุมัติค่าตอบแทนปี 2554 • ครม. เห็นชอบหลักการค่าตอบแทน 3 ส่วน และให้แก้ปัญหาเฉพาะหน้าในปี 2554 สำหรับ สป. โดยอนุมัติกรอบวงเงิน 4,200 ลบ. และให้ตั้งคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทนใหม่ตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นไป (มติ ครม. เมื่อ 3 พค. 54) • สป. ได้รับอนุมัติให้ปรับแผนปี 2554 จำนวน 117 ลบ. และ สงป. อนุมัติงบกลาง ปี 2554 จำนวน 1,600 ลบ. รวมโอนจัดสรรให้พื้นที่แล้ว จำนวน 1,171 ลบ. • ก.คลัง ได้อนุมัติให้อนุโลมใช้หลักเกณฑ์ฯ ฉ.4/6/7 เป็นระเบียบการเบิกจ่าย เฉพาะปี 2554 เท่านั้น • งบประมาณส่วนที่เหลือ (ให้ครบ 4,200 ลบ.) ได้ตั้งคำขอใน ปี 2555 เพื่อเป็นค่าตอบแทนตามสิทธิปี 2554 ได้รับอนุมัติ 2,132 ลบ. ซึ่งได้จัดสรรให้พื้นที่แล้ว
ทิศทางการพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตั้งแต่ปี 2555 • มติ ครม. 3 พค. 54 ให้ตั้ง กก. ศึกษาร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณากำหนดค่าตอบแทนฯ ตั้งแต่ปี 2555 • กรมบัญชีกลาง อนุโลมระเบียบเฉพาะปี 2554 เท่านั้น • ทุกระดับเห็นว่า การจ่ายค่าตอบแทนแบบปัจจุบัน ไม่สะท้อนภาระงาน การปรับระบบการจ่ายค่าตอบแทนเป็น P4P น่าจะเป็นคำตอบให้กับโรงพยาบาล • สตง. มีหนังสือทักท้วง การกำหนด ฉ. 7 ไม่สอดคล้องกับเจตนารมณ์ รวมทั้งทักท้วงการประกาศกำหนด ฉ. 8 ด้วย
ทิศทางการพัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนตั้งแต่ปี 2555 • การประเมินบุคคลเพื่อเลื่อนเงินเดือนประจำปี จำเป็นต้อง มีการประเมินที่ชัดเจน เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมและลดการฟ้องร้องที่มีเพิ่มมากขึ้น • การปรับพื้นที่เพื่อการเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย ต้องทบทวนเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์มากขึ้น โดยปรับบางส่วนของพื้นที่ระดับ 2 เป็นระดับ 1 , พื้นที่ระดับ 1 เป็นพื้นที่ปกติ และพื้นที่ปกติเป็นพื้นที่เขตเมือง • ขยายความครอบคลุมเบี้ยเลี้ยงเหมาจ่าย : พื้นที่ รพท. ขนาดเล็กที่มีปัญหา และ รพ. สังกัดอื่นที่อยู่พื้นที่เดียวกัน • ด้านงบประมาณ ปี 2556 เสนอขอตั้งงบประมาณ จำนวน 5,800 ลบ. เพื่อเป็นค่าตอบแทนระดับพื้นที่
การพัฒนาระบบ P4P เริ่มพัฒนา และนำร่องตั้งแต่ปี 2546 และประเมินผล : ได้ผลดี/สามารถดำเนินการได้ การปรับค่าตอบแทนในปี 2551-2552 เกิดผลกระทบในวงกว้างและมีปัญหาทางปฏิบัติ มติ ครม. 3 พฤษภาคม 2554 เห็นชอบหลักการค่าตอบแทน โดยในส่วนที่ 3 คือ P4P สรุปบทเรียน และพัฒนา P4P ต่อยอด จัดทำคู่มือ และร่างหลักเกณฑ์กลาง
เงื่อนไขสำคัญของการจ่าย P4P ต้องมีนโยบายที่ชัดเจน สำหรับหลักเกณฑ์ฯ ฉบับที่ 4, 6 และ 7 ระยะเริ่มต้น เพื่อลดผลกระทบ กำหนดวงเงินจ่าย P4P ไม่น้อยกว่าวงเงิน ที่จ่ายตามหลักเกณฑ์ฯ ฉบับที่ 7 ของปี 2554 มี คกก. ระดับต่าง ๆ เพื่อสนับสนุน กำกับ แก้ปัญหา พัฒนาต่อเนื่อง ระยะแรกเน้นสร้างความเป็นธรรมในองค์กร : อนาคตต้องสร้างกลไกกำกับให้เกิดความเป็นธรรมระหว่างองค์กร ต้องมีความยืดหยุ่นในการปรับ (ไม่นิ่ง) เพื่อให้เกิดการพัฒนาต่อเนื่อง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตลอดเวลา
เงื่อนไขสำคัญของการจ่าย P4P มีกลไกการช่วยเหลือ รพ.ที่มีปัญหาเฉพาะ เพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบบริหารจัดการที่ดี เริ่มจ่าย P4P วันที่ 1 กค. 2555 กรณี รพ. ใดจะเริ่มดำเนินการก่อนนี้ ให้เสนอขออนุมัติ คกก. พิจารณาเป็นกรณี บทเฉพาะกาล รพศ./รพท. ที่ยังพัฒนาไม่แล้วเสร็จ ให้จ่ายตาม ฉ.7 ได้ ไม่เกิน 3 เดือน หลังจากนั้นต้องจ่าย P4P ได้
หลักการเบื้องต้นในการจ่าย P4P 1. ครอบคลุม ทุกวิชาชีพ 2. ครอบคลุมทุกมิติ : บริการ วิชาการบริหาร 3. ครอบคลุม ในและนอกเวลาราชการ 4. ครอบคลุม หน่วยบริการทุกระดับ แต่บางระดับต้องมีเงื่อนไข/กลไกเฉพาะ
วัตถุประสงค์และ Outcome ที่คาดหวัง เพิ่ม Efficiency - บริการดีขึ้น - บุคลากรพอใจ/สามัคคี เพิ่มจิตสำนึกและผลิตภาพในการทำงาน เพิ่ม Quality - ประหยัด/เกิดประสิทธิภาพ เพิ่มขวัญกำลังใจ