410 likes | 782 Views
การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2556. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 2 พิษณุโลก. ร้อยละผลงานการสร้างเสริมสุขภาพ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะทุกกิจกรรม รายเขต ผลงาน 9 เดือน (ต.ค. 2554 – มิ.ย. 2555 ). ข้อมูลสถิติชีพ. แผนการแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด. พล. สท. อต. ตาก. พช.
E N D
การดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคปี 2556 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 2 พิษณุโลก
ร้อยละผลงานการสร้างเสริมสุขภาพ กลุ่มเป้าหมายเฉพาะทุกกิจกรรม รายเขต ผลงาน 9 เดือน (ต.ค.2554 – มิ.ย.2555)
แผนการแก้ไขปัญหาระดับจังหวัดแผนการแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด พล สท อต ตาก พช
2.การป้องกันโรคไม่ติดต่อ 2.2 การคัดกรองDM,HT อายุ>35 ปี
2.การป้องกันโรคไม่ติดต่อ 2.1 การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงอายุ 30-60 ปี
1 การส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มเป้าหมายสำคัญ 1.1อัตราการฝากครรภ์อายุครรภ์น้อยกว่า 12wks
1.การส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มเป้าหมายสำคัญ1.2 อัตราการคัดกรองพัฒนาการ
การบริหารค่าบริการP&P ของพื้นที่ ( จ/อ/ต) ปี 2556
กรอบวงเงินการบริหารกองทุนปี 2556“งบอัตราเหมาจ่ายรายหัว” หมายเหตุ: งบอัตราเหมาจ่ายรายหัว ไม่รวมค่าแรงส่วนเพิ่มจากนโยบายรัฐบาล และค่าตอบแทนส่วนเพิ่มตามประกาศของ สป.สธ.
กรอบแนวคิดหลักการบริหารค่าบริการP&Pกรอบแนวคิดหลักการบริหารค่าบริการP&P • ครอบคลุมบริการ P&P รายบุคคลและครอบครัวสำหรับคนไทยทุกคน • กรอบการบริหารค่าใช้จ่ายเพื่อ • บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ทั้งที่เป็นปัญหาความสำคัญในระดับ ประเทศ/เขต/จังหวัด/หน่วยบริการ/ชุมชน และนโยบายที่เน้นหนักของ รัฐบาล • สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P • ผู้ดำเนินการจัดบริการจะเป็นหน่วยบริการ สถานพยาบาล หน่วยงาน องค์กรต่างๆ และชุมชน ทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีการจัดบริการ P&P • กระจายอำนาจการบริหารจัดการให้ระดับเขตและจังหวัด • ประสานร่วมมือกับกระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มเป้าหมาย/การบริการชุดสิทธิประโยชน์กลุ่มเป้าหมาย/การบริการชุดสิทธิประโยชน์ : ชุดกิจกรรม/งานบริการ ที่สำคัญในแต่ละกลุ่มเป้าหมายมี ดังนี้
สิ่งที่ต่างจาก ปี 2555 (1) Payment • PP Express demand เพิ่มการจัดสรรตาม workload โดยใช้ข้อมูลผลงานจาก OP/PP individual และจัดสรรตามคุณภาพผลงานบริการ • PP Area based เพิ่มบทบาทให้จังหวัดทำหน้าที่บริหารการจัดสรรเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ คุณภาพการบริการให้ได้ตามเป้าหมายใน 2 บริการได้แก่ บริการตรวจคัดกรองPAP & TSH • ปรับแนวทางการรับบริการของประชาชนทุกสิทธิให้สามารถรับบริการที่หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพใดก็ได้ภายในจังหวัดที่ได้ลงทะเบียนใช้สิทธิไว้ หรือจังหวัดที่อาศัยอยู่ โดยให้ผู้มีสิทธิ CSMBS และ SSS ลงทะเบียนเลือกหน่วยบริการปฐมภูมิภายในเวลา 3 ปี
แผนผังการจัดสรรค่าบริการ P&P ปี 2556 P&P Capitation ( 232.36 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.404ล้านคน) คำนวณจาก 313.70 บาท/ปชก.UC 48.445 ล้านคน (1) NPP & Central procurement (25.72 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.68 บ./คน) (3) PPA (57.40 บ./คน) (2) PPE (124.96 บ./คน) (5) ทันตกรรมส่งเสริม (16.60 บ./คน) กองทุนฯท้องถิ่น (40.00 บ./คน) หักเงินเดือน Quality Performance (25.00 บ./คน) Capitation+ Workload (99.96 บ./คน) จังหวัด/เขต (17.40 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) CUP/สถานพยาบาล กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ PPE และ PPA เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง
แนวทางบริหารค่าบริการ P&P ปี 2556 • P&P National priority program & Central procurement 1.1 Central Procurement
แผนผังการจัดสรรค่าบริการ P&P ปี 2556 P&P Capitation ( 232.36 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.404ล้านคน) คำนวณจาก 313.70 บาท/ปชก.UC 48.445 ล้านคน (1) NPP & Central procurement (25.72 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.68 บ./คน) (3) PPA (57.40 บ./คน) (2) PPE (124.96 บ./คน) (5) ทันตกรรมส่งเสริม (16.60 บ./คน) กองทุนฯท้องถิ่น (40.00 บ./คน) หักเงินเดือน Quality Performance (25.00 บ./คน) Capitation+ Workload (99.96 บ./คน) จังหวัด/เขต (17.40 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) 1.ปชช.UC 50% 2.เป้าหมาย ชุดกิจกรรม 25% CUP/สถานพยาบาล 3.ผลงานปี’55 25%
Performance ตามกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เหมือนปี 2555 : ชุดสิทธิประโยชน์ /ชุดกิจกรรมที่สำคัญในแต่ละกลุ่มเป้าหมายมี ดังนี้ งานบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ใน 5 กลุ่ม ดังนี้
การติดตามผลงานการให้บริการ P&P ตามกลุ่มเป้าหมายเฉพาะปี 2556 (1) ใช้ข้อมูล OPPP Individual Data ปี 2555 ไตรมาส 3,4 ปี 2556 ไตรมาส 1,2 เหมือนปี 2555
การติดตามผลงานการให้บริการ P&P ตามกลุ่มเป้าหมายเฉพาะปี 2556 (2) ใช้ข้อมูล OPPP Individual Data ปี 2555 ไตรมาส 3,4 ปี 2556 ไตรมาส 1,2
การตั้งเป้าหมายกิจกรรม PPE_Speccfic Group ปี 2556 • การตั้งเป้าหมายกิจกรรม PPE_Speccfic Group CUP และหน่วยบริการ ภายใน เดือน พฤศจิกายน 2555 • เพื่อประกอบการประเมินการดำเนินงาน
แผนผังการจัดสรรค่าบริการ P&P ปี 2556 P&P Capitation ( 232.36 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 65.404ล้านคน) คำนวณจาก 313.70 บาท/ปชก.UC 48.445 ล้านคน (1) NPP & Central procurement (25.72 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.68 บ./คน) (3) PPA (57.40 บ./คน) (2) PPE (124.96 บ./คน) (5) ทันตกรรมส่งเสริม (16.60 บ./คน) กองทุนฯท้องถิ่น (40.00 บ./คน) หักเงินเดือน Quality Performance (25.00 บ./คน) Capitation+ Workload (99.96 บ./คน) จังหวัด/เขต (17.40 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) 1.ปชช.UC 50% 2.เป้าหมาย ชุดกิจกรรม 25% CUP/สถานพยาบาล 3.ผลงานปี’55 25%
เพิ่มเติม ปี56 แนวทางบริหารค่าบริการ P&P ปี 2556(5) 2. P&P Expressed demand2.2 ตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ
วัตถุประสงค์ +ตัวชี้วัด • ลดอัตราป่วย อัตราตายและปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ 2. เพิ่มการเข้าถึงบริการที่จำเป็นและมีคุณภาพตามมาตรฐานบริการอย่างเท่าเทียมในแต่ละกลุ่มวัย
แนวทางบริหารค่าบริการ P&P ปี 2556(7) 3. P&P Area based 3.1 กองทุนฯท้องถิ่น
แนวทางบริหารค่าบริการ P&P ปี 2556(9) 3. P&P Area based3.2 PP area based
4.สนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการ P&P งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขระดับจังหวัด บูรณาการ 4 กองทุน P& P Dent. Primary care TTM 1.กำกับติดตามและประเมินผล และ มีข้อมูลเชิงประจักษ์เกี่ยวกับประสิทธิผลการบริการ 2.การพัฒนาระบบสนับสนุนส่งเสริมการจัดบริการ (ศักยภาพบุคลากร การบริการ การบริหารจัดการ ระบบข้อมูลสารสนเทศ การมีส่วนร่วมขององค์กรเอกชนและภาคประชาชน และการขับเคลื่อนระบบสุขภาพชุมชน) โดยมุ่งหวังให้ สปสช.สาขาจังหวัดบูรณาการจัดทำแผนงานโครงการและการดำเนินงานพัฒนาบริการปฐมภูมิ บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน บริการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์ บริการการแพทย์แผนไทย บริการป้องกัน ควบคุมเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและอื่นๆ
แนวทางการเบิกค่าตรวจยืนยันโรคธาลัสซีเมีย ปี ๒๕๕๖ P&P
1 2 คู่สมรสคู่เสี่ยง ประชากรไทยทุกสิทธิ หญิงตั้งครรภ์ ประชากรไทยทุกสิทธิ เป้าหมาย
การเรียกเก็บค่าใช้จ่าย จากสปสช. (1) • หน่วยบริการ หรือหน่วยงานที่รับตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือการตรวจวินิจฉัย เรียกเก็บโดยตรงไปยังสปสช.โดยไม่ต้องเรียกเก็บไปยัง หน่วยบริการที่ส่งตรวจ และผู้รับบริการ • หน่วยบริการ หรือหน่วยงานที่ให้บริการตรวจทางห้องทางปฏิบัติการ หรือการตรวจวินิจฉัย โดยใช้ห้องปฏิบัติการ ในหน่วยบริการหรือหน่วยงานเอง หรือส่งตรวจที่ห้องปฏิบัติการภาคเอกชนที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน (จากกรมวิทยาศาตร์การแพทย์)ให้เรียกเก็บโดยตรงไปยังสปสช. http://www.dmsc.moph.go.th/dmsc/
การเรียกเก็บค่าใช้จ่าย จากสปสช. (2) • แบบรายงานการตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการและตรวจวินิจฉัย โรคธาลัสซีเมีย ในรูปแบบอิเลคทรอนิกส์ไฟล์ โดยต้องมีข้อมูลครบถ้วน คือ • รหัสและชื่อของหน่วยที่ส่งและหน่วยที่ตรวจ • เลขที่บัตรประจำตัวประชาชนหญิงตั้งครรภ์และสามี • อายุครรภ์เมื่อเจาะเลือด (สัปดาห์) • รายการตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือตรวจวินิจฉัย วัน เดือน ปี ที่ตรวจ และผลการตรวจ ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลครบถ้วนทั้งหญิงตั้งครรภ์และสามี
แบบรายงานเพื่อเรียกเก็บแบบรายงานเพื่อเรียกเก็บ • หน่วยบริการหรือหน่วยงานสามารถดาว์โหลดแบบรายงานได้จาก http://ppitem.nhso.go.th • ส่งข้อมูลรูปแบบอิเลคทรอนิกส์ไฟล์ ผ่าน E-mail address :thalassemia.p@nhso.go.th
รายงานผลการดำเนินงาน PPE_2555 www.nhso.go.th
งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
ผลลัพธ์ตัวชี้วัดงาน P&P และการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ปี 54 (ข้อมูลจากศูนย์วิชาการ)
ผลลัพธ์ตัวชี้วัดงาน P&P และการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพปี 54
ผลลัพธ์ตัวชี้วัดงาน P&P และการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ ปี 55