870 likes | 1.02k Views
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า Information Technology for Study Skill. Nerissa Onkhum. Introduction to Internet. การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น. ความหมายของอินเทอร์เน็ต.
E N D
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้าInformation Technology for Study Skill Nerissa Onkhum
Introduction to Internet การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
ความหมายของอินเทอร์เน็ตความหมายของอินเทอร์เน็ต อินเตอร์เน็ต (Internet): คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตสามารถสื่อสารระหว่างกันได้ นับว่าเป็นเครือข่ายที่กว้างขวางที่สุดในปัจจุบัน เป็นการเชื่อมโยงกันระหว่างคอมพิวเตอร์นับล้านๆ เครื่อง แบบไม่ถาวร ขึ้นอยู่กับเวลานั้นๆ ว่าใครต้องการเข้าสู่ระบบอินเตอร์เน็ตบ้าง
พัฒนาการของ Internet • อินเตอร์เน็ตกำเนิดขึ้นเมื่อประมาณปี ค.ศ.1969 หรือประมาณปี พ.ศ. 2512 โดยพัฒนามาจาก อาร์พาเน็ต (ARPAnet) ซึ่งเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายใต้ความรับผิดชอบของหน่วยงานโครงการวิจัยขั้นสูง (Advanced Research Projects Agency) หรือเรียกชื่อย่อว่า อาร์พา (ARPA) ซึ่งเป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา (Department of Defense) จุดประสงค์ของโครงการอาร์พาเน็ต เพื่อสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่คงความสามารถในการติดต่อสื่อสารถึงกันได้ • อาร์พาเน็ตในขั้นต้นเป็นเพียงเครือข่ายทดลองตั้งขึ้นเพื่อสนับสนุนงานวิจัยด้านการทหาร
อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย • ปี พ.ศ. 2529 อาจารย์กาญจนา กาญจนสุต จากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย(AIT) ร่วมกับอาจารย์โทโมโนริ คิมูระ จากสถาบันเดียวกัน ร่วมสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยอาศัย • โมเด็ม NEC • เครื่องคอมพิวเตอร์พีซี • สายโทรศัพท์ทองแดง • ผ่านการหมุนโทรศัพท์ไปยังศูนย์บริการของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ทำการรับส่งอีเมล์ นับได้ว่า อาจารย์กาญจนา กาญจนสุต เป็นบุคคลแรกที่เริ่มใช้จดหมายอิเล็กทรอนิกส์รายแรกของประเทศไทย
พัฒนาการของ Internet ในประเทศไทย • สำหรับประเทศไทย ได้เริ่มมีการติดต่อเชื่อมโยงเข้าสู่อินเตอร์เน็ตใน พ.ศ. 2535 โดยเริ่มที่สำนักวิทยบริการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งได้เช่าวงจรสื่อสารความเร็ว 9600 บิตต่อวินาทีจากการสื่อสารแห่งประเทศไทย ต่อมาในปี พ.ศ.2536 เนคเทคได้เช่าวงจรสื่อสารความเร็ว 64 กิโลบิตต่อวินาที ซึ่งช่วยเพิ่มความสามารถในการขนถ่ายข้อมูล ทำให้ประเทศไทยมีวงจรสื่อสารระหว่างประเทศ 2 วงจร หน่วยงานต่าง ๆ ที่เข้าร่วมเชื่อมโยงเครือข่ายในระยะแรก ได้แก่ สถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ และต่อมาได้ขยายไปยังหน่วยงานราชการอื่น ๆ
อินเทอร์เน็ตทำให้คอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง ทุกระบบ สามารถติดต่อสื่อสารกันได้
World Wide Web (WWW) • WWWมีการบัญญัติศัพท์ว่า เครือข่ายใยพิภพเป็นบริการหนึ่งที่มีอยู่ในอินเทอร์เน็ต ทำให้การใช้งานอินเตอร์ง่ายขึ้น • เป็นบริการค้นหาและแสดงข้อมูลนี้อยู่ในรูป Multimedia คือ มีทั้งภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และวีดีโอ • World Wide Web เป็นแหล่งบริการข้อมูลขนาดใหญ่ เหมือนเครือข่ายใยแมงมุม
คอมพิวเตอร์ในระบบอินเทอร์เน็ตรู้จักกันได้อย่างไรคอมพิวเตอร์ในระบบอินเทอร์เน็ตรู้จักกันได้อย่างไร
การทำงานของอินเทอร์เน็ต มีโปรโตคอลที่เป็นมาตรฐานสำหรับการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต คือ TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol)
คือ ระเบียบ วิธีการหรือภาษาที่เป็นมาตรฐานของการเชื่อมต่อกำหนดไว้ เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ ที่อยู่ในระบบ โปรโตคอล (Protocol)
ชนิดของ Protocol • TCP/IP :ใช้เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกันสามารถติดต่อสื่อสารและรับส่งข้อมูลกันได้ • HTTP (Hypertext Transfer Protocol) :ใช้เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตในรูปแบบของWorld Wide Web เชื่อมโยงข้อมูลที่อยู่ในรูปของ Hypertext • File Transfer Protocol (FTP) โปรโตคอลนี้จะใช้สำหรับการถ่ายโอนไฟล์ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น • POP3 (Post Office Protocol 3), SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) : ใช้ในการรับ-ส่ง e-mail
โปรโตคอล://ชื่อโดเมน/ชื่อไดเรกทอรี่ที่เก็บไฟล์ในโฮสต์/ชื่อไฟล์ในโฮสต์โปรโตคอล://ชื่อโดเมน/ชื่อไดเรกทอรี่ที่เก็บไฟล์ในโฮสต์/ชื่อไฟล์ในโฮสต์ URL (Uniform Resource Locator) • เป็นรูปแบบการระบุตำแหน่งหรือที่อยู่บนอินเตอร์เน็ตโดย URL แบ่งได้เป็น 3 ส่วนย่อยๆ ดังนี้ – Protocol สำหรับระบุถึงโปรโตคอลที่ใช้ในการสื่อสารของเว็บไซต์ - Domain Name ชื่อของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เก็บไฟล์ - File Locate ส่วนนี้สำหรับระบุตำแหน่งของไฟล์ที่อยู่ในเว็บไซต์
โปรโตคอล://ชื่อโดเมน/ชื่อไดเรกทอรี่ที่เก็บไฟล์ในโฮสต์/ชื่อไฟล์ในโฮสต์โปรโตคอล://ชื่อโดเมน/ชื่อไดเรกทอรี่ที่เก็บไฟล์ในโฮสต์/ชื่อไฟล์ในโฮสต์ URL (Uniform Resource Locator) ตัวอย่างของโปรโตคอลที่ใช้เรียกบริการในอินเทอร์เน็ต เช่น http:// หมายถึงโปรโตคอลที่เรียกใช้บริการ WWW ที่มีข้อมูลเป็น Hypertext ftp:// หมายถึงโปรโตคอลที่เรียกใช้บริการ FTP ตัวอย่างเช่น http://www.uru.ac.th
ที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต (Uniform Resources Locator : URL)
IP Address หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย
IP address ของเครื่องคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คือ 202.29.52.1
โดเมนเนม (Domain name system :DNS) • เป็นการตั้งชื่อที่ใช้เรียกแทน IP Address ต่างๆ ที่เว็บไซต์นั้นๆเก็บอยู่ เพื่อให้ง่ายต่อการจดและเรียกใช้งาน
202.29.52.1 www.uru.ac.th
โดเมนเนม (DNS) • การกำหนดโดเมนเนมจะเรียงลำดับความสำคัญของชื่อจากขวาไปซ้าย โดยมีจุดคั่น เช่น www.uru.ac.th • การตั้งและใช้โดเมนเนมจะต้องไม่ซ้ำกันเลย โดยยึดหลักผู้ใดจดทะเบียนก่อนมีสิทธิใช้ชื่อก่อน • หน่วยงานที่ทำหน้าที่กำกับดูแลชื่อโดเมนของ • InterNIC • ThNIC • http://www.thaiinternic.com/ • http://www.thairegister.com/
องค์ประกอบของโดเมนเนมองค์ประกอบของโดเมนเนม Domain Name ประกอบด้วย 3 ส่วน แต่ละส่วนเรียกว่า "Sub Domains" ซึ่งมีความหมายดังนี้ • ส่วนแรก บอกถึงชนิดของ Server ว่าเป็น WWW server หรือเป็น FTP server • ส่วนสอง เป็นชื่อของ Domain ซึ่งมักจะตั้งตามชื่อของบริษัทหรือองค์กรที่เป็นเจ้าของ • ส่วนสาม เป็นส่วนที่ระบุถึงชนิดและสัญชาติของ Domain นั้นๆ
โดเมนที่มีตัวอักษร 3 ตัว เรียกว่า Generic domain ส่วนมากใช้ในประเทศสหรัฐอเมริกา ชื่อย่อประเภทขององค์กร .com องค์กรธุรกิจ .edu สถาบันการศึกษา .gov หน่วยงานราชการ
.int องค์กรระหว่างประเทศ.int องค์กรระหว่างประเทศ .mil หน่วยงาน ทหาร .netผู้ให้บริการเครือข่าย .orgองค์กรที่ไม่แสวงหากำไร
ตัวอย่างคำย่อของประเทศตัวอย่างคำย่อของประเทศ - .th ประเทศไทย - .jp ประเทศญี่ปุ่น - .uk ประเทศอังกฤษ - .au ประเทศออสเตรเลีย - .sg ประเทศสิงคโปร์ - .fr ประเทศฝรั่งเศส ดังนั้นเมื่อเห็นชื่อของ Domain ที่อยู่ในอินเตอร์เน็ตก็จะทราบถึงประเภทและสัญชาติของ Domain นั้นๆ
ชื่อโดเมน ชนิด Server ตัวอย่าง โดเมนเนม www.uru.ac.th ส่วนระบุชนิดหรือสัญชาติ
โดเมนในประเทศไทย .ac.th สถานศึกษาในประเทศไทย .co.th บริษัทที่ทำธุรกิจในประเทศไทย .go.th หน่วยงานต่างๆ ของรัฐบาล
.net.th บริษัทที่ทำธุรกิจด้านเครือข่าย .or.th หน่วยงานที่ไม่แสวงหากำไร .in.th บุคคลทั่วๆ ไป
การจดโดเมนเนม (Register a domain name) การจดทะเบียนชื่อโดเมนเสมือนการจดทะเบียนชื่อบริษัทในระบบปกติ การจดชื่อโดเมนจะไม่มีการซ้ำกันเนื่องจากมีหน่วยงานกลางในการดูแล การเลือกชื่อโดเมนเป็นเรื่องที่ยากในปัจจุบัน ซึ่งต้อง สั้น กระชับ จำง่าย และสื่อความหมายถึงสินค้าหรือบริการนั้นๆ ตัวอย่างหน่วยงาน • thairegister.com • networksolution.com • thnic.co.th
เทคนิคการตั้งโดเมนเนมเทคนิคการตั้งโดเมนเนม • สั้นๆ • จำง่าย • ได้ความหมายธุรกิจ • สะกดผิดยาก • โดยใช้ตัวอักษร a-z , 0-9 และเครื่องหมาย - โดยต้องไม่ขึ้นต้น หรือลงท้ายด้วยเครื่องหมาย - และต้องไม่มี Space และต้องจด โดเมนเนม อย่างน้อย 2 ตัวอักษร โดยชื่อโดเมนเนมจะต้องเป็นภาษาอังกฤษ
โดเมนเนม (Domain Name) โดเมนเนม “ภาษาไทย” Sample : http://กสิกร.ธนาคาร.พาณิชย์.ไทย
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับ Domain Name • โดเมนเนมแรก คือ symbolics.com ซึ่งจดทะเบียนเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 1985 • Cybersquatter คือ ผู้ที่ต้องการเก็งกำไรจากการขายโดเมนเนมให้กับผู้อื่น • ในการขอจดชื่อโดเมนเนม จะเป็นสิทธิ์แบบเช่าชื่อ ซึ่งมีอายุ 2 ปี และต้องต่ออายุใหม่
คำศัพท์เกี่ยวกับเว็บไซต์คำศัพท์เกี่ยวกับเว็บไซต์ • เว็บไซต์ (Web site) • แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อประสมต่างๆ (รูปภาพ,เสียง,ข้อความ) ของแต่ละบริษัทหน่วยงาน หรือบุคคลแหล่งข้อมูลที่บรรจุอยู่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต หนังสือหนึ่งเล่ม • เว็บเพจ (Web page) • หน้าที่แสดงเอกสาร เนื้อหาของเว็บไซต์ เอกสารแต่ละหน้า • โฮมเพจ (Home page) • หน้าแรกของเว็บไชต์ ปกของหนังสือ
เว็บเพจ (Web page) โฮมเพจ (Home page)
โฮมเพจ(Home Page) • เป็นหน้าแรกของเว็บเพจทั้งหมดที่ผู้ใช้บริการจะพบเมื่อมีการเข้าไปยังเว็บไซต์ใดๆ • เป็นข้อมูลเบื้องต้นที่แสดงให้ผู้บริการทราบว่าในเว็บไซต์นั้นมีบริการใดบ้าง เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์องค์กรของตน • ภายในโฮมเพจอาจมีเอกสารข้อความอื่นๆที่เรียกว่า เว็บเพจ เชื่อมโยงต่อจากโฮมเพจนั้นได้อีกเป็นจำนวนมาก
ลิงค์ (Link) เอกสารของทุกเว็บเพจจะเป็นเอกสารแบบไฮเปอร์เท็กซ์ หมายความว่าภายในเอกสารแบบไฮเปอร์เท็กซ์ (hyper text) นี้จะเป็นข้อความที่สามารถเชื่อมโยงไปยังรายละเอียดของข้อมูลนั้น โดยข้อมูลที่เชื่อมโยงไปอาจจะอยู่ในเว็บเพจหน้าเดียวกันหรือ ต่างหน้าก็ได้หรืออาจจะอยู่ภายในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกัน หรืออยู่กันคนละเครื่องแต่อยู่ภายในเครือข่ายเดียวกันก็ได้ โดยไม่คำนึงถึงว่าจะอยู่ไกลกันคนละจังหวัด หรืออยู่กันคนละประเทศ
ลิงค์ (Link) • การเชื่อมโยง (link) อาจอยู่ในรูปของปุ่ม ภาพหรือข้อความ โดยเมื่อเลื่อนเมาส์ไปเหนือลิงค์ (link) รูปเมาส์จะเปลี่ยนจากรูปลูกศรเป็นรูปมือ
HyperText Markup Language (HTML) • เป็นภาษามาตราฐานที่ใช้ในการสร้างเว็บเพจ (Web Page) ซึ่งสามารถ กำหนด การเชื่อมต่อไปยังเว็บเพจ (Web Page) ต่างๆ ได้ โดยใช้ Hyper Text Links นั่นเอง
เว็บเบราว์เซอร์ (web browser) เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการท่องโลก World Wide Web เพื่อดูข้อมูลข่าวสารต่างๆ บนอินเตอร์เน็ต หรือกล่าวได้ว่าบราวเซอร์ เป็นโปรแกรมใช้เปิดดูเว็บเพจนั่นเอง มีหลายโปรแกรมที่นิยมใช้ในปัจจุบันได้แก่ Microsoft Internet Explorer, Netscape Navigator
Web browser ในการเรียกดูเว็บไซต์ต้องอาศัยโปรแกรมเว็บเบราว์เซอร์ (web browser) ในการดูข้อมูล
ส่วนต่างๆในหน้าจอ Internet Explorer
แถบเครื่องมือ (Toolbar) • แถบเครื่องมือหลักของ Internet Explorer มีอยู่ 3 แถบคือ • แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard buttons)เป็นส่วนที่ช่วยในการจัดการกับเว็บเพจต่างๆ • แถบที่อยู่ (Address bar)เป็นส่วนที่แสดงตำแหน่งที่อยู่ของเว็บเพจขณะนั้น • แถบเครื่องมือลิงค์ (Links bar)เป็นส่วนที่ช่วยในการแสดงส่วนเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจเฉพาะส่วนที่คัดเลือกไว้เช่นเว็บเพจที่ดีและน่าสนใจที่สุดหรือเว็บเพจที่ถูกใจเป็นต้น
แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard buttons)
แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard buttons)
แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard buttons)
การท่องอินเตอร์เน็ต • โปรแกรม Internet Explorer • พิมพ์ชื่อเว็บไซท์ที่ต้องการ และกดปุ่ม Enter
การใช้งาน Web Browser • การเลือกภาษาในหน้าเว็บเพจ • การบันทึกหน้าเว็บเพจจาก Internet • การจัดระเบียบให้กับ Favorite
Internet Service Provider (ISP) ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) คือบริษัทหรือหน่วยงานที่ตั้งขึ้นมาเพื่อให้บริการติดต่อเชื่อมโยงกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตโดยอาจจะคิดค่าบริการหรือไม่ก็แล้วแต่บริษัทหรือหน่วยงานนั้นๆ ยกตัวอย่างเช่น ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต (ISP) ในเมืองไทย loxinfo, True, Internet Thailand เป็นต้น
การบริการบนอินเตอร์เน็ตการบริการบนอินเตอร์เน็ต • บริการด้านการสื่อสารและแลกเปลี่ยนไฟล์ข้อมูล • บริการค้นหาข้อมูล