1 / 127

การตรวจสอบระบบการจัดการพลังงานภายในโรงงานควบคุม (Internal Audit)

การตรวจสอบระบบการจัดการพลังงานภายในโรงงานควบคุม (Internal Audit). สาธิต ทูลไธสง. โดย. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา. การจัดการพลังงาน 8 ขั้นตอน. หลักเกณฑ์ในการตรวจประเมินการจัดการพลังงาน. ความสอดคล้องกับข้อกำหนดของวิธีการจัดการพลังงาน

meir
Download Presentation

การตรวจสอบระบบการจัดการพลังงานภายในโรงงานควบคุม (Internal Audit)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตรวจสอบระบบการจัดการพลังงานภายในโรงงานควบคุม (Internal Audit) สาธิต ทูลไธสง โดย สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา

  2. การจัดการพลังงาน 8 ขั้นตอน

  3. หลักเกณฑ์ในการตรวจประเมินการจัดการพลังงานหลักเกณฑ์ในการตรวจประเมินการจัดการพลังงาน • ความสอดคล้องกับข้อกำหนดของวิธีการจัดการพลังงาน • ประเภทของความไม่สอดคล้องกับวิธีการจัดการพลังงาน

  4. หลักเกณฑ์ในการตรวจประเมินการจัดการพลังงานหลักเกณฑ์ในการตรวจประเมินการจัดการพลังงาน 1. ความสอดคล้องกับข้อกำหนดของวิธีการจัดการพลังงาน การตัดสินใจว่าประเด็นใดสอดคล้องกับข้อกำหนดวิธีการจัดการพลังงานก็ต่อเมื่อ • ผลการปฏิบัติสอดคล้องกับข้อกำหนด โดยมีหลักฐานที่เกี่ยวกับการสัมภาษณ์บุคคลที่รับผิดชอบหรือเกี่ยวข้อง ดูเอกสารบันทึก ดูจากสถานที่ปฏิบัติจริงแล้วเหมาะสมถูกต้อง

  5. หลักเกณฑ์ในการตรวจประเมินการจัดการพลังงานหลักเกณฑ์ในการตรวจประเมินการจัดการพลังงาน 2. ประเภทของความไม่สอดคล้องกับวิธีการจัดการพลังงาน • ร้ายแรง (Major)คือ ไม่มีเอกสารในการจัดการพลังงาน หรือบุคคลส่วนใหญ่ไม่รู้เรื่องการจัดการพลังงาน หรือไม่มีหลักฐานปฏิบัติในเรื่องต่างๆ ตามที่ข้อกำหนดวิธีการจัดการพลังงานระบุไว้โดยสิ้นเชิง • ไม่ร้ายแรง (Minor)คือ ความไม่สอดคล้องของเอกสารขณะที่ปฏิบัติจริง ไม่สอดคล้อง หรือ มีความคลาดเคลื่อนในเชิงปฏิบัติบางส่วน

  6. หลักเกณฑ์ในการตัดสินใจสำหรับความไม่สอดคล้อง ขั้นตอนที่ 1 ระดับร้ายแรง (Major) • ไม่มีคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานเป็นเอกสาร • ไม่มีการกำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะทำงาน • ไม่มีการเผยแพร่คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานด้วยวิธีการใดๆ เลย ระดับไม่ร้ายแรง (Minor) • มีคำสั่งคระทำงานเป็นเอกสารแต่ผู้บริหารระดับสูงไม่ได้ลงนาม • มีการกำหนดอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะทำงานสอดคล้องกับสาระสำคัญในบางข้อของกฎกระทรวง • มีการเผยแพร่คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานด้วยวิธีการต่างๆ แต่บุคลากรของโรงงานรับทราบไม่ทั่วถึง

  7. หลักเกณฑ์ในการตัดสินใจสำหรับความไม่สอดคล้อง ขั้นตอนที่ 2 ระดับร้ายแรง (Major) • ไม่มีการประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องต้นทั้งในหน่วยงานย่อยตามโครงสร้างและภาพรวมของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม ระดับไม่ร้ายแรง (Minor) • มีการประเมินไม่ครบทุกหน่วยงานย่อยตามโครงสร้างของโรงงาน • มีการประเมินตามข้อ 1 แต่ ไม่ครบทั้ง 6 องค์ประกอบที่กำหนดใน EMM • มีเอกสารหลักฐานแบบประเมินตามข้อ 1 ไม่ครบ

  8. หลักเกณฑ์ในการตัดสินใจสำหรับความไม่สอดคล้อง ขั้นตอนที่ 3 ระดับร้ายแรง (Major) • ไม่มีการกำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงานเป็นเอกสาร • ไม่มีการกำหนดเนื้อหาสาระสำคัญของนโยบายเลย • ไม่มีการเผยแพร่นโยบายด้วยวิธีการใดๆ เลย ระดับไม่ร้ายแรง (Minor) • นโยบายไม่ได้ลงนามโดยผู้บริหารระดับสูง • มีการกำหนดนโยบายสอดคล้องกับสาระสำคัญในบางข้อ • มีการเผยแพร่นโยบายด้วยวิธีการต่างๆ แต่บุคลากรของโรงงานรับทราบไม่ทั่วถึงและไม่สามารถปฏิบัติตามนโยบายได้

More Related