1.36k likes | 1.62k Views
ยินดีต้อนรับ ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 (ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อ่างทอง). การประชุม. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 (ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อ่างทอง) ครั้งที่ 3 /2551 วันที่ 26 พฤษภาคม 2551 เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมสำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2.
E N D
ยินดีต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2(ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อ่างทอง)
การประชุม กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 (ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อ่างทอง) ครั้งที่ 3/2551 วันที่ 26พฤษภาคม 2551 เวลา 13.30 น.ณ ห้องประชุมสำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่อง ประธาน แจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่อง รับรองรายงานการประชุม
รับรองรายงานการประชุมรับรองรายงานการประชุม ครั้งที่2/2551 เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2551 รายงานการประชุมครั้งที่ 2 จำนวน 16 หน้า เพื่อพิจารณารับรองฯ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่อง เพื่อทราบ
3.1 การพัฒนาข้อมูลและภาวะเศรษฐกิจกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 (ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อ่างทอง)
มูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน (ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท อ่างทอง)
สัดส่วนมูลค่า GPP ภาคการเกษตร ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน
สัดส่วนมูลค่า GPP ภาคอุตสาหกรรม ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน
สัดส่วนมูลค่า GPP ภาคการบริการ ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน
สัดส่วนมูลค่า GPP สาขาโรงแรมฯ ของกลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน
BCG Model สาขาโรงแรมและภัตตาคาร
การพัฒนาข้อมูลและภาวะเศรษฐกิจจังหวัดลพบุรี คลังจังหวัดลพบุรี รายงาน.................................................
ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดลพบุรีภาวะเศรษฐกิจจังหวัดลพบุรี สำนักงานคลังจังหวัดลพบุรี
มูลค่า GPP จังหวัดลพบุรี ปี 2545-2549 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
โครงสร้างเศรษฐกิจจังหวัดลพบุรี ตามข้อมูล GPP ปี 2549 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจจังหวัดลพบุรีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจจังหวัดลพบุรี ปี 2545 - 2549 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
BCG Model ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดลพบุรี (GPP)
BCG Model ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดลพบุรี
ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดลพบุรีปี พ.ศ.2550 ภาพรวมเศรษฐกิจจังหวัดลพบุรี ปี 2550 อยู่ในช่วงชะลอตัวเมื่อเทียบกับปีก่อน เช่นเดียวกับภาวะเศรษฐกิจประเทศ ปัจจัยบวกที่ส่งผลต่อภาวะเศรษฐกิจจังหวัด คือ การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณภาครัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ , การขยายตัวของราคาสินค้าเกษตร ปัจจัยลบที่ส่งผลต่อภาวะเศรษฐกิจจังหวัด คือ ปัญหาเสถียรภาพทางการเมือง, ราคาน้ำมันที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ราคาสินค้าและค่าครองชีพสูงขึ้น สำนักงานคลังจังหวัดลพบุรี
สรุปภาวะเศรษฐกิจจังหวัดลพบุรี ปี 2550 สำนักงานคลังจังหวัดลพบุรี
สรุปภาวะเศรษฐกิจจังหวัดลพบุรี ปี 2550
ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดลพบุรี ไตรมาส 1 ปี 2551 ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดลพบุรี ไตรมาส 1/2551 ขยายตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ปัจจัยบวกที่ส่งผลต่อภาวะเศรษฐกิจจังหวัด คือ สถานการณ์การเมืองที่ชัดเจนกว่าในปีที่ผ่านมา ทำให้ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและนักลงทุนดีขึ้น และราคาสินค้าเกษตรซึ่งเป็นอาชีพหลักของประชาชนในจังหวัดดีขึ้นกว่าปีก่อน ปัจจัยลบที่ส่งผลต่อภาวะเศรษฐกิจจังหวัด คือ อัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับสูง และราคาน้ำมันเชื้อเพลิงที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง สำนักงานคลังจังหวัดลพบุรี
สรุปภาวะเศรษฐกิจจังหวัดลพบุรี ไตรมาส 1 ปี 2551 สำนักงานคลังจังหวัดลพบุรี
สรุปภาวะเศรษฐกิจจังหวัดลพบุรี ไตรมาส 1 ปี 2551
สำนักงานคลังจังหวัดลพบุรีสำนักงานคลังจังหวัดลพบุรี โทรศัพท์/โทรสาร 0-3641-2790 E-mail address lri@cgd.go.th http://klang.cgd.go.th/lri
การพัฒนาข้อมูลและภาวะเศรษฐกิจจังหวัดสิงห์บุรีการพัฒนาข้อมูลและภาวะเศรษฐกิจจังหวัดสิงห์บุรี คลังจังหวัดสิงห์บุรี รายงาน.................................................
ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดสิงห์บุรีภาวะเศรษฐกิจจังหวัดสิงห์บุรี สำนักงานคลังจังหวัดสิงห์บุรี
มูลค่า GPP จังหวัดสิงห์บุรี ปี 2545-2549 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
โครงสร้างเศรษฐกิจจังหวัดสิงห์บุรีโครงสร้างเศรษฐกิจจังหวัดสิงห์บุรี ตามข้อมูล GPP ปี 2549 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจจังหวัดสิงห์บุรีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจจังหวัดสิงห์บุรี ปี 2545 - 2549 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดสิงห์บุรีปี พ.ศ.2550 ภาพรวมเศรษฐกิจจังหวัดสิงห์บุรีในปี 2550 อยู่ในภาวะชะลอตัวเมื่อเทียบกับปีที่แล้ว สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจของประเทศที่ชะลอตัว ทั้งนี้มีผลมาจากสภาพทางการเมืองที่ยังไม่เป็นที่ยอมรับของนานาประเทศ นโยบายในการบริหารประเทศด้านการลงทุนไม่มีความชัดเจน ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจของสหรัฐฯที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาซับไพรม์ ซึ่งส่งผลกระทบไปทั่วโลกที่ใช้ ค่าแลกเปลี่ยนทางการค้าเป็นเงินดอลล่าร์สหรัฐฯ สำนักงานคลังจังหวัดสิงห์บุรี
ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดสิงห์บุรีด้านต่างๆภาวะเศรษฐกิจจังหวัดสิงห์บุรีด้านต่างๆ สำนักงานคลังจังหวัดสิงห์บุรี
ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดสิงห์บุรีในด้านต่างๆภาวะเศรษฐกิจจังหวัดสิงห์บุรีในด้านต่างๆ
สำนักงานคลังจังหวัดสิงห์บุรีสำนักงานคลังจังหวัดสิงห์บุรี โทรศัพท์/โทรสาร 0-3650-7139 E-mail address sbr@cgd.go.th http://klang.cgd.go.th/sbr
การพัฒนาข้อมูลและภาวะเศรษฐกิจจังหวัดชัยนาทการพัฒนาข้อมูลและภาวะเศรษฐกิจจังหวัดชัยนาท คลังจังหวัดชัยนาท รายงาน.................................................
จังหวัดชัยนาท หลวงปู่ศุขลือชา เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อนามระบือสวนนก ส้มโอดกขาวแตงกวา
วิสัยทัศน์จังหวัดชัยนาทวิสัยทัศน์จังหวัดชัยนาท “เมืองเกษตรมาตรฐาน สืบสานคุณภาพชีวิต”
เปรียบเทียบโครงสร้างทางเศรษฐกิจจังหวัดชัยนาท(GPP)ปี 2546-2549 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
โครงสร้างเศรษฐกิจจังหวัดชัยนาทโครงสร้างเศรษฐกิจจังหวัดชัยนาท ปี 2549 ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดชัยนาท ปีพ.ศ. 2550 เศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดชัยนาท ปีพ.ศ. 2550 ขยายตัว เมื่อเทียบกับปีก่อน ปัจจัยบวก จากพืชเศรษฐกิจของจังหวัด คือข้าวและมันสำปะหลัง โรงงาน ประกอบกับจังหวัดมีความอุดมสมบูรณ์ด้านน้ำ ที่นำมาทำการเกษตร ปัจจัยลบที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจจังหวัด คือ ปัญหาเสถียรภาพ ทางการเมือง และราคาสินค้าอุปโภคบริโภคปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ภาวะเศรษฐกิจจังหวัด ภาวะเศรษฐกิจจังหวัด ปีพ.ศ.2550 ข ด ข ข
ภาวะเศรษฐกิจจังหวัด ปีพ.ศ.2550 ด ข ข ข ข ข
ภาวะเศรษฐกิจจังหวัดชัยนาท ไตรมาสที่ 1/2551 เศรษฐกิจโดยรวมของจังหวัดชัยนาท ไตรมาสที่ 1/2551 ขยายตัว เมื่อเทียบระยะเดียวกันของปีก่อน ปัจจัยบวก ที่ส่งผลต่อภาวะเศรษฐกิจจังหวัด คือปริมาณผลผลิตและราคา สินค้าเกษตรที่ขยับตัวสูงขึ้น นโยบายการเร่งรัดการเบิกจ่ายเงินและ นโยบายส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมของจังหวัด ปัจจัยลบที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจจังหวัด คือ ราคาน้ำมันเชื้อเพลิง ซึ่งเป็นปัจจัยหลักของต้นทุนการผลิตภาคการเกษตรปรับตัวสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง