1 / 30

การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง ( SEM) ด้วยโปรแกรม SPSS AMOS เบื้องต้น

การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง ( SEM) ด้วยโปรแกรม SPSS AMOS เบื้องต้น. สำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis. 1. แนะนำโปรแกรม AMOS. 2. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม AMOS. 3. แบบฝึกหัด. 4. หัวข้อ.

Download Presentation

การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง ( SEM) ด้วยโปรแกรม SPSS AMOS เบื้องต้น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM) ด้วยโปรแกรม SPSS AMOS เบื้องต้น สำนักวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

  2. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis 1 แนะนำโปรแกรม AMOS 2 การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม AMOS 3 แบบฝึกหัด 4 หัวข้อ

  3. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis • Multiple Linear Regression จากข้อมูล Diaper-English.savทำการวิเคราะห์ ด้วยวิธีดังนี้ • Enter • Stepwise • Backward

  4. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis • Multiple Linear Regression (Enter)

  5. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis • Multiple Linear Regression (Enter)

  6. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis • Multiple Linear Regression (Stepwise)

  7. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis • Multiple Linear Regression (Stepwise)

  8. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis • Multiple Linear Regression (Stepwise)

  9. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis • Multiple Linear Regression (Backward)

  10. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis • Multiple Linear Regression (Backward)

  11. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis

  12. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis

  13. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis • Factor analysis • Exploratory Factor Analysis : EFA (การศึกษาความสัมพันธ์เพื่อที่จะสร้างตัวแปรโดยที่เราไม่ทราบมาก่อน) - Principal Component Analysis(การวิเคราะห์องค์ประกอบหลัก) - การหมุนแกนด้วยวิธี Varimax (องค์ประกอบที่ได้มีความแตกต่างกันที่สุด) • Confirmative Factor Analysis : CFA - Confirm hypothesis relationship structure.

  14. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis • Exploratory Factor Analysis : EFA Varible1 Component 1 / Factor 1 Varible2 Varible3 Varible4 Varible5 Component 2 Varible6 Varible7

  15. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis • Exploratory Factor Analysis : EFA (Principal Component Analysis) • จากข้อมูล Diaper-English.sav ทำการวิเคาะห์ ได้ผลดังนี้

  16. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis • Exploratory Factor Analysis : EFA (Principal Component Analysis)

  17. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis • Exploratory Factor Analysis : EFA (Principal Component Analysis)

  18. ทบทวนเกี่ยวกับสถิติ Regression และ Factor analysis • Exploratory Factor Analysis : EFA (Principal Component Analysis) Economy Model Quality

  19. แนะนำโปรแกรม AMOS

  20. แนะนำโปรแกรม AMOS • ประเภทและสัญลักษณ์ของตัวแปร 1. ตัวแปรสังเกตได้ หรือตัวแปรบ่งชี้ – เป็นข้อมูลที่ผู้วิจัยสามารถเก็บได้โดยตรง สัญลักษณ์ที่แสดงถึงตัวแปรบ่งชี้ คือ สี่เหลี่ยมผืนผ้าหรือจัตุรัสก็ได้ 2. ตัวแปรแฝง หรือ ปัจจัย (Factor) – ในที่นี้จะเรียกว่าตัวแปรแฝง เป็นตัวแปรที่ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้โดยตรง แต่เป็นตัวแปรที่สร้างขึ้นจากตัวแปรบ่งชี้ ส่วนใหญ่นิยมใช้วงรี 3. ตัวแปรแสดงความคลาดเคลื่อนในการวัด (Measurement error) ของตัวแปรบ่งชี้หรือสังเกตได้ ส่วนใหญ่นิยมใช้รูปวงกลม หรือ เช่น 4. ตัวแปรแสดงค่าคลาดเคลื่อน (Distturbance) ของตัวแปรแฝงหรือปัจจัย ใช้สัญลักษณ์วงรี หรือวงกลม ส่วนใหญ่นิยมใช้วงกลม X Y F e r e r X Y d

  21. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม AMOS • ประเภทของโมเดลสมการโครงสร้าง โดยทั่วไปจะสามารถแบ่งโมเดลสมการโครงสร้างออกได้เป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) *2. การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis: CFA) *3. โมเดลโครงสร้าง (Structural Regression Model: SR) 4. โมเดลโค้งการพัฒนา (Latent Growth Model: LGM) หมายเหตุ:* ฝึกอบรมในวันนี้ (ใน SEM ส่วนใหญ่จะเป็นการรวม CFA และ SR)

  22. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม AMOS การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis: CFA)

  23. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม AMOS Output การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis: CFA)

  24. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม AMOS Output การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis: CFA)

  25. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม AMOS การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM)

  26. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม AMOS Output การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM)

  27. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม AMOS Output การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง (SEM)

  28. การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรม AMOS ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยันลำดับที่สอง

  29. แบบฝึกหัด ให้ใช้ข้อมูล Daimler-SEM.sav ทำการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสำรวจ (EFA) และทำการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงยืนยัน (CFA)

  30. Thank You !

More Related