450 likes | 611 Views
2015 ASEAN and Thai Education. ภิรมย์ ลูกตาก 1. จุดมุ่งหมายของนโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐบาลชุดนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ 1. นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น 2. นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์
E N D
2015 ASEAN and Thai Education ภิรมย์ ลูกตาก 1
จุดมุ่งหมายของนโยบายรัฐบาลจุดมุ่งหมายของนโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐบาลชุดนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ ชินวัตร มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ 1.นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น 2.นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์ 3.นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 อย่างสมบูรณ์
อาเซียน (ASEAN) Association for South East AsianNations หรือ ประชาคมประชาชาติเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้
ASEAN COUNTRIES Thailand Laos Vietnam Cambodia Malaysia Myanmar Brunei Philippine Indonesia Singapore
สมาชิกอาเซียน: พม่า (สาขาผลิตภัณฑ์เกษตรและสาขาประมง), มาเลเซีย (สาขาผลิตภัณฑ์ยางและสาขาสิ่งทอ), อินโดนีเซีย (สาขายานยนต์และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้), ฟิลิปปินส์ (สาขาอิเล็กทรอนิกส์), สิงคโปร์ (สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและสาขาสุขภาพ), ไทย (สาขาการท่องเที่ยวและสาขาการบิน)+3 : จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และ +6 : ออสเตรเลีย อินเดีย นิวซีแลนด์ (บวกสาม แล้วบวกอีกสาม)
THE ASEAN CHARTER Association of Southeast Asian Nations
อัตลักษณ์ของอาเซียน อาเซียนต้องส่งเสริมอัตลักษณ์ร่วมกันของตนและความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งในหมู่ประชาชนของตน เพื่อให้บรรลุชะตา เป้าหมาย และคุณค่าร่วมกันของอาเซียน
คำขวัญของอาเซียน วิสัยทัศน์เดียว อัตลักษณ์เดียว ประชาคมเดียว
ASEAN External Relations ASEAN Centrality ASEAN+3 ASEAN EAS (ASEAN+6) ASEAN at the Centre
ASEAN ก่อตั้งโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510)
สาขาความร่วมมือของอาเซียนสาขาความร่วมมือของอาเซียน ด้านการเมืองและความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับประเทศภายนอก
ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
การศึกษาจะเป็นกลไกสำคัญการศึกษาจะเป็นกลไกสำคัญ ในการขับเคลื่อนทั้ง 3 เสาหลัก เสาการเมือง ความมั่นคง เสาสังคม วัฒนธรรม เสาเศรษฐกิจ
เราจะเตรียมคนอย่างไร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็กและเยาวชนไทย เพื่อสู่ประชาคมอาเซียน ในปี 2558
โครงสร้างประชากรประเทศไทยโครงสร้างประชากรประเทศไทย ชาย หญิง ชาย หญิง 2563 2543
แผนงานจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนแผนงานจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (A Blueprint for ASEAN Social-Cultural Community)
เส้นทางการคมนาคมไร้พรมแดนเส้นทางการคมนาคมไร้พรมแดน • เส้นทางขนถ่ายสินค้า และการคมนาคม สะดวก รวดเร็ว ประหยัด
เส้นทาง “ระเบียงเศรษฐกิจหนานหนิง-กรุงเทพฯ” (R9)ระยะทางประมาณ 1,900 กว่ากิโลเมตรรายละเอียดเส้นทางเริ่มต้นจากนครหนานหนิง -– กรุงฮานอย (ถนนหมายเลข 1) จ. กวางบิงห์ (ถนนหมายเลข 9) – ด่านสะหวันนะเขต – ด่านมุกดาหาร – จ.ขอนแก่น – กทม. เราเตรียมอะไรให้เด็ก
ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตกEast – West Economic Corridor
เราเตรียมอะไรให้เด็กแล้วบ้าง?เราเตรียมอะไรให้เด็กแล้วบ้าง?
เด็กไทยจะต้องรู้กี่ภาษาจึงอยู่รอดได้ในโลกวันนี้เด็กไทยจะต้องรู้กี่ภาษาจึงอยู่รอดได้ในโลกวันนี้
เราเตรียมอะไรให้เด็กแล้วบ้าง?เราเตรียมอะไรให้เด็กแล้วบ้าง?
แผนที่เส้นทางไฮสปีดเทรน คุนหมิง-สิงคโปร์
การเคลื่อนย้ายผู้ประกอบวิชาชีพชั้นสูง ในปี 2558 ตามข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Agreements: MRAs) • แพทย์ • วิศวกรรม • พยาบาล • ทันตแพทย์ • สถาปัตยกรรม • นักบัญชี • การสำรวจ
กรอบแนวคิด ทิศทางโลก คนไทยที่ควรจะเป็น ASEAN Community ณ ปัจจุบัน การจัดการศึกษารองรับการเป็นประชาคมอาเซียน ทิศทางประเทศไทย ทิศทางอาเซียน หลักสูตร/โครงสร้าง ในระบบ การจัดการศึกษาไทยในปัจจุบัน • มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน ประชาคมอาเซียน ในทุกมิติ • มีศักยภาพทั้งในด้านความรู้ทางวิชาการ วิชาชีพ และภาษาอังกฤษ/ภาษาอาเซียน เทคโนโลยีสารสนเทศ • มีระบบคิดแบบสมานฉันท์ โดยไม่ลืมรากเหง้าความเป็นไทย: รู้จักความหลากหลายและอยู่ร่วมกับความหลากหลายอย่างสมานฉันท์ นอกระบบ การเตรียมความพร้อมด้านการศึกษาของปท. ในอาเซียน ความสัมพันธ์ไทยกับปท. อาเซียน
โจทย์ของการจัดการศึกษาโจทย์ของการจัดการศึกษา คนไทยที่พึงประสงค์ ในยุค “อาเซียน” การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมรับมือ “ประชาคมอาเซียน” การสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่อง“อาเซียน” ในสังคมไทย ควรเป็นอย่างไร ใช้เครื่องมือใด เพื่อเตรียมพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน การเสริมสร้างรากเหง้าความเป็นไทยในยุค“อาเซียน” เพื่อการอยู่อย่างสมานฉันท์ และไม่ลืมรากเหง้า
กระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียมกระทรวงศึกษาธิการกับการเตรียม ความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน มีคณะกรรมการระดับชาติเพื่อขับเคลื่อนความร่วมมือ ด้านการศึกษาในอาเซียนสู่การบรรลุเป้าหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 โดยมี รมว.ศธ.เป็นประธาน
โดยเน้น... • เผยแพร่ความรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความตระหนัก และเตรียมความพร้อมครู อาจารย์ บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และประชาชน การพัฒนาศักยภาพ นักศึกษา นักเรียน และประชาชน ให้มีทักษะเตรียมความพร้อม เช่น ภาษาอังกฤษ และภาษาเพื่อนบ้าน
โดยเน้น... พัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อส่งเสริมการหมุนเวียนของนักศึกษาและครูในอาเซียน ยอมรับคุณสมบัติร่วมกับ และส่งเสริม Education Hub การเตรียมความพร้อม เพื่อเปิดเสรีการศึกษาในอาเซียน การพัฒนาเยาวชน เพื่อเป็นทรัพยากรในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ทัศนคติและความตระหนักรู้เพื่อก้าวไปสู่ “อาเซียน”บทสรุปข้อค้นพบจากการสำรวจข้อมูลประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งสิบ สำรวจนักศึกษาจำนวน 2,170คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งสิบ
ผม/ฉันรู้สึกว่าตนเองเป็นพลเมืองอาเซียน (I feel that I am a citizen of ASEAN)
ถาม ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน รู้จักธงอาเซียน รู้ว่าอาเซียนก่อตั้งเมื่อใด
การศึกษาขั้นพื้นฐาน • กำหนดภาพเด็กไทย ใน ASEAN • Education Hub school (14 โรง) • Spirit Of ASEAN - Sister/partner school (30 โรง) - Buffer school (24 โรง) (มีเครือข่าย มากกว่า 500 โรง) • ASEAN Focus School (14 โรง) • Connecting classroom : พัฒนาการเรียนการสอนร่วมกับประเทศอาเซียน และประเทศอื่นๆ
จุดเน้นของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่ประชาคมอาเซียนจุดเน้นของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่ประชาคมอาเซียน • Link with member countries school (Connecting Classroom) • School Curriculum that focuses on English, ASEAN Language, ICT for Learning, Multi-Culture Community, etc • Design & Implement Global Issues/Learning with partner school • School Curriculum that goes beyond it’s boundary • Member Countries Language • Multi-Cultural living
การศึกษาขั้นพื้นฐานกับการเตรียมสู่ASEANการศึกษาขั้นพื้นฐานกับการเตรียมสู่ASEAN • แนวทางการบริหารการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน • แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน สำหรับประถมศึกษา • แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน สำหรับมัธยมศึกษา • แนวทางการจัดค่ายอาเซียน
การจัดค่ายอาเซียน วันที่ 11-18 ธันวาคม 2553 ผู้แทนประเทศเข้าคารวะ ท่าน รมว.ศธ
ระดับอาชีวศึกษา 2. พัฒนาขีดความสามารถด้านภาษาอังกฤษให้นักศึกษาอาชีวะ 1. พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ให้สอดคล้องกับคุณวุฒิวิชาชีพอาเซียน เพื่อรองรับการเคลื่อนตัวของแรงงานฝีมือ 3. เตรียมการเปิดหลักสูตรนานาชาติและหลักสูตร 2 ภาษา (English Program) เพื่อรองรับประชาคมอาเซียน
ระดับอุดมศึกษา • 2. มหาวิทยาลัยจัดตั้งศูนย์เกี่ยวกับ ASEAN อาทิ • มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เปิดศูนย์เตรียมความพร้อมสู่ประชาประชาคม อาเซียน • จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิด ศูนย์อาเซียนศึกษา • มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และมหาวิยาลัยสุราษฎธานี เปิดศูนย์การอบรมการท่องเที่ยวเพื่อประชาคมอาเซียน • มหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้งสถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน 1. AUN (Asean University Network) ซึ่งประเทศไทยเป็นสำนักงานเลขาธิการ
อีก 4 ปีที่เหลือ จังหวัดของท่านจะดำเนินการเตรียมคนทุกระดับอย่างไร ? จังหวัดของท่านจะมีผลกระทบอย่างไรจากการเป็นประชาคมอาเซียน ? จัดการศึกษา/ให้ความรู้อย่างไร ด้วยวิธีการใด ? เมื่อเป็นอาเซียนแล้ว ความเป็นไทยและท้องถิ่นจะเข้มแข็งได้อย่างไร ?
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน • จะให้มหาวิทยาลัย สพฐ. สกอ.ได้หา ข้อสรุปในการจัดการศึกษาร่วมกัน มหาวิทยาลัยจะลงไปจัดทำหลักสูตรและช่วยสอนในมัธยมฯซึ่งจะทำให้เด็กได้เรียนหลักสูตรเดียวกับมหาวิทยาลัยตั้งแต่มัธยมฯ จะมีการปรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แบ่งตามกลุ่มอัจฉริยภาพของเด็ก ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม 5 กลุ่ม ได้แก่ 1) เกษตรกรรม 2) อุตสาหกรรม 3) พาณิชยกรรม 4) วิชาการ 5) ความคิดสร้างสรรค์
นักวิชาการ ย้ำปฏิรูปการศึกษาล้มเหลว • อดีตเลขาธิการคณะกรรมการ การ อุดมศึกษา (กกอ.) การปฏิรูปการศึกษา 10 ปีที่ผ่านมาล้มเหลว และยังไม่มีใครรู้ว่าเป้าหมายของการ ปฏิรูปการศึกษาคืออะไร แต่ที่เห็นเป็นรูปธรรมที่สุดจากการปฏิรูปคือ โครงสร้าง แต่โครงสร้างที่ปรับเปลี่ยนนั้นกลับมีปัญหา จนปัจจุบันต้องกลับไปสู่รูปแบบเดิม เช่น การแยกเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา การกระจายอำนาจที่ยังไม่เป็นระบบ ที่สำคัญการนำทบวงมหาวิทยาลัยมารวมกับกระทรวงศึกษาธิการ ก็ถือว่าผิดพลาดมหันต์ เพราะยิ่งทำให้การบริหารงานไม่มีความคล่องตัว ดังนั้นตนคิดว่าน่าจะแยกสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ออกจาก ศธ. โดยอาจจะแยกเป็นกระทรวง และเพิ่มภาระงานด้านวิจัยให้มากขึ้น เพราะถือเป็นงานหลักของอุดมศึกษา
ASEAN THANK YOU