210 likes | 415 Views
ActionScript 3.0. อาจารย์ปิยศักดิ์ ถี อาสนา. Action Panel. Action Panel. Script Pane Toolbar. ข้อควรจำ. 1. จบคำสั่งใดๆ หรือสิ้นสุด statement ให้ปิดท้ายด้วย semicolons (;) เสมอ 2. พิมพ์ใหญ่ กับ พิมพ์เล็ก คนละตัวกัน 3.ช่องว่าง ( Writespace ) ไม่มีผลต่อการเขียนโปรแกรม
E N D
ActionScript 3.0 อาจารย์ปิยศักดิ์ ถีอาสนา
ข้อควรจำ • 1. จบคำสั่งใดๆ หรือสิ้นสุด statement ให้ปิดท้ายด้วย semicolons (;) เสมอ • 2. พิมพ์ใหญ่ กับ พิมพ์เล็ก คนละตัวกัน • 3.ช่องว่าง (Writespace) ไม่มีผลต่อการเขียนโปรแกรม • 4.Dot หรือ จุด เราใช้เพื่ออยากแยกชื่อวัตถุออกจาก properties หรือ Method • 5. วงเล็บปีกกา (Curly Braces)มักล้อมรอบ Action ที่จะเกิดขึ้น • 6.วงเล็ก (parentheses) เราใช้วงเล็บ เพื่อใส่ค่าใดๆ ให้กับ Action นั้นๆ เพื่อให้เกิดการทำงานตามที่เราต้องการ • comment // บรรทัดเดียว หลายบรรทัด /* */
ทำความรู้จักกับนามสกุล .as • Flash นามสกุล • .fla • Run flash เป็นนามสกุล • .swf • ActionScriptนามสกุล • .as • เราสามารถเขียน .as ไว้นอก .flaได้ แล้วมาเชื่อมกันทีหลัง (จะพูดในเรื่องของ class)
Variable and Data type • ให้ลองนึกถึงกล่องใบหนึ่ง ที่บรรจุ เลขที่อ้างอิง ไปยังสิ่งของที่เราเก็บไว้บนชั้นวางของ โดยเลขที่อ้างอิงนี้ เราเก็บไว้ในกล่อง เพื่อรอวันเรียกใช้งาน และเราก็เขียนชื่อติดกล่องไว้เพื่อความสะดวกในการเรียกชื่อกล่องใบนั้นๆ มาใช้งาน (*เจ้ากล่องใบที่เรายกมาเป็นตัวอย่างคือ variable) • Variableคือ สิ่งที่เราใช้ชื่อหรือสัญลักษณ์ใดๆ กำหนดขึ้นมาเพื่อใช้อ้างอิงตำแหน่งใดๆ บนหน่วยความจำที่ใช้เก็บข้อมูลนั้นๆ โดยข้อมูลที่อ้างถึงสามารถมีชนิดข้อมูลแบบใดก็ได้ และยังสามารถเปลี่ยนแปลงได้
กฏการตั้งชื่อตัวแปร • ชื่อของตัวแปรนั้น ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร เครื่องหมาย $ (Dollar sign) หรือเครื่องหมาย _ (underscore) เท่านั้น • ห้ามตั้งชื่อของตัวแปรขึ้นต้นด้วยตัวเลข เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์อื่นๆ นอกเหนือจากหัวข้อที่กล่าวมา • ถัดจากตัวอักษรตัวแรก จะตามด้วยตัวเลข ตัวอักษร เครื่องหมาย $ หรือ _ ก็ได้ (แต่ห้ามเป็นเครื่องหมาย *,#,@ หรือเว้นช่องว่าง) • ตัวแปรใน ActionScriptถือเป็น Case Sensitive คือ ตัวใหญ่ตัวเลข มีความหมายต่างกัน ถือว่าเป็นคนละตัวแปรกัน • การตั้งชื่อตัวแปร ต้องไม่ไปซ้ำกับคำสงวน (Reserved words)
Data Type • Number = ตัวเลขทั้งหมด • int = จำนวนเต็ม -2,147,483 ถึง 2,147,483 • unit = จำนวนเต็มบวกเท่านั้น 0 – 4,294,967,295 • String = ตัวอักษร คำ และ สัญลักษณ์ต่างๆ • Boolean = ตรรก มี 2 ค่า true และ false เท่านั้น
การประกาศตัวแปร varvariableName: Datatype; Ex. varfood:String; food = “pizza”; ประกาศตัวแปรและกำหนดค่าบรรทัดเดียว varmyName:String = “Piyask”; ประกาศหลายๆ ตัวแปร โดยใช้ Comma(,) Varbreakfast:String, lunch:String, dinner:String;
Constants ตัวแปรคงที่ Const BOILING_POINT:int=555;
Operators • X = 2+2*3-5 ได้คำตอบเท่าไหร่
Arithmetic Operatorsตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ var a:Number = 1; varb:Number = 2; varc:Number = 4; a+b a-- a/b a++ c%b a*b a-b (ถ้าเป็นจำนวนเต็มจะได้จำนวนเจ็มเสมอ แม้จะหารปัดเศษ) 3 0 (a=a-1) 0.5 2 (a=a+1) 0 หารเอาเศษ 2 1
Comparison Operatorsตัวดำเนินการเปรียบเทียบ • == • > • >= • != • < • <= • === (a===b จะเป็นจริงเมื่อ a เท่ากับ b ในทุกๆ ด้าน) • !==
Logical Operationsตัวดำเนินการทางด้านตรรกศาสตร์
Ex. If statement varnumber:Number = 6; If (number>5) { trace(“ค่าของ number มากกว่า 5”); }
Ex. If else statement var number: Number = 6; if (number >5){ trace(“ค่าของ number มากกว่า 5”); } else { trace(“ค่าของ number น้อยกว่า 5”); }