7.39k likes | 13.05k Views
❷. ทบทวน วรรณกรรม. ระเบียบวิธีการวิจัย ( Research Methodology). ❶ กำหนดหัวข้อ. ❽ ตีพิมพ์รายงาน. กำหนดประเด็น. สร้างกรอบ แนวความคิด. เผยแพร่ ใช้ประโยชน์. วัตถุประสงค์ สมมติฐาน. การวิจัย. ออกแบบ การวิจัย. ❼ ร่างรายงาน. ปรับปรุง รายงาน. สุ่มตัวอย่าง. วิเคราะห์ ข้อมูล.
E N D
❷ ทบทวน วรรณกรรม ระเบียบวิธีการวิจัย (Research Methodology) ❶ กำหนดหัวข้อ ❽ ตีพิมพ์รายงาน กำหนดประเด็น สร้างกรอบ แนวความคิด เผยแพร่ ใช้ประโยชน์ วัตถุประสงค์ สมมติฐาน การวิจัย ออกแบบ การวิจัย ❼ ร่างรายงาน ปรับปรุง รายงาน สุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์ ข้อมูล ❹ กำหนด ประชากรเป้าหมาย สร้างและทดสอบ วิธีการเก็บ/ รวบรวมข้อมูล ❻ จัดระเบียบข้อมูล ❺ กำหนดที่มาของข้อมูล
แผนภาพแสดงวงจรความหมายของการวิจัยแผนภาพแสดงวงจรความหมายของการวิจัย ประเด็นปัญหา หรือ สิ่งที่ต้องการหา คำตอบ สามารถนำไปตอบคำถามตามประเด็นที่ตั้งไว้ได้ กระบวนการแสวงหาคำตอบ กำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย ที่ถูกต้องเชื่อถือได้ และเกิดประโยชน์ ต่องานที่ทำ คำถาม วิธีทำ คำตอบ
วงจรภาพการวิจัยของ เดลีย์(Dailey, 1978:5) (1) การเลือกปัญหาของการ วิจัยและตั้งสมมติฐาน (5) การตีความหมาย (2) การออกแบบการวิจัย (3) การรวบรวมข้อมูล (4) การวิเคราะห์ข้อมูล
คำถามเพื่อการวิจัย ข้อมูล ทำอะไร What . . . To do ? ครบถ้วน ทำทำไม Why ? (ทำเพื่ออะไร) ถูกต้อง ทำกับใคร Who ? ทำที่ไหน Where ? เชื่อถือได้ ทำอย่างไร How ? ทำเมื่อไร When ?
แผนภาพ ขั้นตอนวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ปัญหา ตั้งสมมติฐาน รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุป
ขั้นปัญหา กำหนดปัญหาการวิจัย ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ให้คำจำกัดความของปัญหา กำหนดจุดมุ่งหมายการวิจัย กำหนดสมมติฐานการวิจัย ขั้นสมมติฐาน กำหนดประชากรและและกลุ่มตัวอย่าง เลือกและสร้างเครื่องมือ ดำเนินการรวบรวมข้อมูล ขั้นรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล เสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล สรุปและอภิปรายผลการวิจัย ขั้นสรุปผล เขียนรายงานการวิจัย ขั้นตอนของกระบวนการวิจัย
ประเด็นปัญหาของงานวิจัยประเด็นปัญหาของงานวิจัย หัวข้องานวิจัย ตัวแปร และ สมมติฐาน วัตถุประสงค์ของงานวิจัย ประโยชน์ที่ได้รับ ภาพ แสดงความสัมพันธ์ของกระบวนการวิจัยโดยสังเขป สอดคล้อง และสนับสนุน สัมพันธ์ กำหนด กำหนด นำไปคาดการณ์ สัมพันธ์ เป็นข้อมูลหรือแนวทางเพื่อ นำไปใช้แก้ไขหรือบรรเทาปัญหา กำหนด กำหนด กำหนด กำหนด ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง การเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การวิเคราะห์และการแปรผล
เป็นประโยชน์ หรือไม่ ทำได้หรือไม่ หลักเกณฑ์การ เลือกหัวข้องานวิจัย คุ้มค่าหรือไม่ หัวข้องานวิจัย ภาพ แสดงแนวทางการตัดสินใจเลือกหัวข้องานวิจัย ไม่มีประโยชน์ ไม่ควรทำ • แก้ปัญหาได้ • ประเด็นน่าสนใจ • เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม มีประโยชน์ ทำไม่ได้ ไม่ควรทำ • มีความเชี่ยวชาญ • มีข้อมูลสนับสนุน • มองทะลุถึงตอนจบได้ • อยู่ในสายงานที่เกี่ยวข้อง ทำได้ ไม่คุ้มค่า ไม่ควรทำ • ไม่กว้างหรือแคบจนเกินไป • ทันต่อเหตุการณ์ • ใช้ทรัพยากรในการวิจัย อย่างคุ้มค่า คุ้มค่า
ข้อมูลหยาบ ข้อมูลหยาบ ระดับการวัดตัวแปร (Level of Measurement) 1. มาตรานามบัญญัติ(Nominal Scale) 2. มาตราเรียงลำดับ(Ordinal Scale) 3. มาตราอันตรภาคชั้น (Interval Scale) 4. มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) ภาพ แสดงระดับการวัดตัวแปรจาก ข้อมูลหยาบไปยังข้อมูลละเอียดมากที่สุด ข้อมูลละเอียดมากที่สุด
ภาพแสดงการเปรียบเทียบระดับการวัดตัวแปร ทั้ง 4 มาตรา 1. มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale) 2. มาตราเรียงลำดับ (Ordinal Scale) 1. จัดเป็นกลุ่มได้ 1.จัดเป็นกลุ่มได้ 2.บอกระดับความมากน้อยหรือ เรียงลำดับได้ เช่น ตัวแปรวุฒิการศึกษา, ระดับยศ เช่น ตัวแปรเพศ, สถานภาพสมรส 3. มาตราอันตรภาคชั้น (Interval Scale) 4. มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) 1. จัดเป็นกลุ่มได้ 2. บอกระดับความมากน้อยหรือเรียงลำดับได้ 3. มีค่าเป็นตัวเลขและมีช่วงห่างเท่ากัน 4. มีจุดเริ่มต้นจาก 0 (มีศูนย์แท้) 1. จัดเป็นกลุ่มได้ 2. บอกระดับความมากน้อยหรือเรียงลำดับได้ 3. มีค่าเป็นตัวเลขและมีช่วงห่างเท่ากัน เช่น ตัวแปรน้ำหนัก, ส่วนสูง เช่น ตัวแปรระดับอุณหภูมิ
ตัวแปรที่เป็นเหตุ ตัวแปรต้น ตัวแปรที่เกิดขึ้นมาก่อน ตัวแปรคงที่ ภาพ -แสดงลักษณะตัวแปรต้น หรือตัวแปรอิสระ (Independent Variables)
ตัวแปรที่เป็นผล ตัวแปรที่ปรับเปลี่ยน แปลงได้ ตัวแปรที่เกิดขึ้นภายหลัง ภาพ - แสดงลักษณะตัวแปรตาม (Dependent Variables) ตัวแปรตาม
สถิติเชิงพรรณนา Descriptive Statistics สถิติอ้างอิง Inference Statistics ภาพ แสดงโครงสร้างการคำนวณทางสถิติที่นิยมใช้ในงานวิจัยทางสังคม ค่าร้อยละ (Percentage) การจกแจงความถี่ Frequency ค่าเฉลี่ย(Mean) ค่ามัธยฐาน(Median) การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง Central Tendency ค่าฐานนิยม(Mode) ค่าพิสัย(Range) การวัดการกระจาย Measure of Variation ค่าส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์(Quartile Deviation) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) สถิติ Statistics การแจกแจงแบบที t-test ประชากรกลุ่มเดียว One Sample Test การแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน Z-test สถิติอ้างอิงแบบมีพารามิเตอร์ Parametric Inference ประชากร 2 กลุ่มอิสระกัน Independence Samples Test การวิเคราะห์ความแปรปรวน ANOVA การแจกแจงแบบไคสแควร์ Chi-Square ประชากร 2 กลุ่มอิสระ ต่อกัน Paired Sample Test สถิติอ้างอิงแบบไม่มีพารามิเตอร์ Non Parametric Inference สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Correlation Coefficient
สถิติอ้างอิง Inference Statistics ภาพ แสดงโครงสร้างการคำนวณทางสถิติอ้างอิง การแจกแจงแบบที t-test ประชากรกลุ่มเดียว One Sample Test การแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน Z-test สถิติอ้างอิงแบบมีพารามิเตอร์ Parametric Inference ประชากร 2 กลุ่มอิสระกัน Independence Samples Test การวิเคราะห์ความแปรปรวน ANOVA การแจกแจงแบบไคสแควร์ Chi-Square ประชากร 2 กลุ่มอิสระ ต่อกัน Paired Sample Test สถิติอ้างอิงแบบไม่มีพารามิเตอร์ Non Parametric Inference สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Correlation Coefficient
โครงสร้างการรายงานการวิจัยโครงสร้างการรายงานการวิจัย ส่วนนำ(Preliminary) ส่วนเนื้อเรื่อง (Body of Report) ส่วนนำ ประกอบด้วย ปกนอก/สันปก ใบรับรอง ปกใน บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ คำอธิบายสัญลักษณ์และคำย่อ • ส่วนเนื้อเรื่องประกอบด้วย • บทที่1 บทนำ • ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • วัตถุประสงค์ของการวิจัย • สมมติฐานการวิจัยขอบเขตของการวิจัย • ข้อตกลงเบื้องต้น • ข้อจำกัดของการวิจัย • นิยามศัพท์เฉพาะ • ประโยชน์ของผลการวิจัย • บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • แนวคิดและทฤษฎีจากเอกสารและตำราที่เกี่ยวข้อง • เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • สรุปเอกสารและงานวิจัยเข้าสู่ประเด็นปัญหาการวิจัย • บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย • ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • เครื่องมือในการวิจัย • การเก็บรวบรวมข้อมูล • สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล • บทที่ 4 ผลของการวิจัย • ผลการวิเคราะห์ข้อมูล • บทที่ 5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ • สรุปผลการวิจัย • อภิปรายผลการวิจัย • ข้อเสนอแนะ
ส่วนอ้างอิง Referenced Material ส่วนอ้างอิงประกอบด้วย บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก -หนังสือขอเชิญต่าง ๆ -หนังสือขอความร่วมมือ *รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ ภาคผนวก ข -แบบสอบถาม (หรือเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยต่างๆ) ภาคผนวก ค -รายละเอียดบางอย่างที่ไม่ได้ใส่ไว้ ในส่วนของเนื้อเรื่อง(ถ้ามี) ประวัติผู้วิจัย ต่อ
กลุ่มตัวอย่าง (Sample) ใช้ค่าสถิติ ประชากร(Population) ใช้ค่าพารามิเตอร์ สุ่มตัวอย่าง (Sampling) เป็นตัวแทนประชากร สรุปหรืออ้างอิงประชากรทั้งกลุ่มได้ ภาพ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างประชากร(Population)และกลุ่มตัวอย่าง(Sample)
กลุ่มตัวอย่าง(Samples) กลุ่มตัวอย่างหมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากรที่ใช้ในการวิจัย เช่น ถ้าประชากรหมายถึงนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นทุกคนใน กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างของประชากรได้แก่ ส่วนหนึ่งของ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น อาจจะ300-400คน ในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยที่ดีจะต้องเป็นตัวแทนของประชากรที่ ศึกษา ซึ่งจะต้องได้มาด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างและต้องมีขนาดเพียงพอ
การกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างด้วยการคำนวณจากสูตรการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างด้วยการคำนวณจากสูตร โดยใช้การกำหนดค่าคลาดเคลื่อนที่นิยมใช้ แบ่งออกได้เป็น 2 วิธี การกำหนดขนาดของตัวอย่าง ในกรณีที่ทราบจำนวนประชากร สูตร n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง N = ขนาดของประชากรที่ใช้ในการวิจัย e = ค่าเปอร์เซ็นความคลาดเคลื่อนจากตัวอย่าง
ตัวอย่าง ถ้าประชากรที่ใช้ในการวิจัยมีจำนวน 2,000 ยอมรับค่าความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่างได้ 5 % หรือ 0.05 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจะคำนวณได้ดังนี้ วิธีทำ หรือ 333 ราย
การคำนวณของขนาดกลุ่มตัวอย่างในกรณีที่ไม่ทราบจำนวนประชากรการคำนวณของขนาดกลุ่มตัวอย่างในกรณีที่ไม่ทราบจำนวนประชากร สูตร n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง P = ค่าเปอร์เซ็นต์ที่ต้องการสุ่มจากประชากรทั้งหมด e = ค่าเปอร์เซ็นต์ความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่าง Z = ระดับความเชื่อมั่นที่ผู้วิจัยกำหนดไว้ ซึ่งนิยมใช้กันมี 2 ระดับ ได้แก่ ณ ระดับความเชื่อมั่น 95 % Z มีค่าเท่ากับ 1.96 ณ ระดับความเชื่อมั่น 99 % Z มีค่าเท่ากับ 2.58
ตัวอย่างถ้าผู้วิจัยต้องการสุ่มตัวอย่างเป็น 50 %หรือ .50 จากประชากรทั้งหมด ต้องการระดับความเชื่อมั่น 95 % และยอมรับค่าความคลาดเคลื่อนจากการสุ่มตัวอย่างได้ 5 %หรือ 0.05 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจะคำนวณได้ดังนี้ วิธีทำ หรือ 384 ราย
%ความคลาดเคลื่อน 100 90 80 70 60 50 40 30 20 จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 10 N 100 200... ภาพ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างการกำหนดจำนวนของกลุ่มตัวอย่างกับ การกำหนดค่าความคลาดเคลื่อน
หลักในการสัมภาษณ์ เตรียมความพร้อม • ทำความเข้าใจวัตถุประสงค์ • นัดหมาย วัน/เวลา/สถานที่ สัมภาษณ์ • เตรียมวัสดุอุปกรณ์ เช่น แบบสัมภาษณ์ ดินสอ เทป ฯลฯ • อบรมทีมผู้สัมภาษณ์ ซักซ้อม ท่องจำคำถาม ดำเนินการสัมภาษณ์ *แสดงความเคารพ แนะนำตัวและจุดมุ่งหมายการสัมภาษณ์ *สร้างสรรค์บรรยากาศที่ดี แล้วเริ่มการสัมภาษณ์ ปิดการสัมภาษณ์ • ทบทวนประเด็นสำคัญของข้อมูลที่ได้รับจากการสัมภาษณ์ • กล่าวขอบคุณและแสดงความเคารพ
การสุ่มตัวอย่าง (Random sample) ใช้หลักความน่าจะเป็นในการสุ่มตัวอย่าง (Probability Sampling) ไม่ใช้หลักความน่าจะเป็นในการสุ่มตัวอย่าง (Nonprobability Sampling) การสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) การสุ่มแบบง่าย (Sample random Sampling) การสุ่มอย่างมีระบบ (Systematic Sampling) การสุ่มแบบโควต้า (Quota-Sampling) การสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) การสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Sampling) การสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Sampling) การสุ่มแบบบอกต่อ (Snowball Sampling) การสุ่มแบบหลายขั้น (Multi-stage Sampling) ภาพแสดงประเภทการสุ่มตัวอย่าง
A B A A 900 900 A C A A 300 A 300 300 B 300 C 300 A 300 ภาพ แสดงการเปรียบเทียบลักษณะของการสุ่มแบบแบ่งชั้นกับการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม ลักษณะของการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Sampling) ลักษณะของการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Sampling) ลักษณะของประชากรมีความคล้ายคลึงกันแต่อาจมีการแบ่งเป็นกลุ่มได้ตามอาณาเขต ลักษณะของประชากรมีความแตกต่างกัน จึงต้องจัดแบ่งประชากร ออกเป็นกลุ่ม ประชากร ประชากร สุ่มตัวอย่าง 100 สุ่มตัวอย่าง 100 สุ่มตัวอย่างจาก A กลุ่มเดียว สุ่มตัวอย่าง 100 กลุ่มตัวอย่าง 300 กลุ่มตัวอย่าง 300
ศึกษาและรวบรวมข้อมูล เพื่อนำมากำหนดโครงสร้างของข้อคำถาม กำหนดโครงสร้างของแบบสอบถามและสำนวนภาษาของข้อคำถาม หาคุณภาพของ แบบสอบถาม จัดทำแบบสอบถาม ฉบับสมบูรณ์ เสนอที่ปรึกษา เสนอที่ปรึกษา เสนอที่ปรึกษา ปรับปรุงและแก้ไข ปรับปรุงและแก้ไข ปรับปรุงและแก้ไข เสนอผู้เชี่ยวชาญ ทดลองใช้แบบสอบถามกับกลุ่มทดลอง ภาพ แสดงขั้นตอนในการสร้างแบบสอบถาม 1 2 3 ไม่ผ่าน ผ่าน 4 ไม่ผ่าน ผ่าน 5 ไม่ผ่าน 7 6 ผ่าน
เพศ สถานภาพผู้ตอบ อายุ ความพึงพอใจในการรับฟังวิทยุคลื่นFM 103 ลักษณะโดยทั่วไป ของรายการ ประเภทรายการที่ชอบฟัง ช่วงเวลาที่ชอบฟัง ความพึงพอใจใน รูปแบบรายการ พิธีกรผู้จัด ความถูกต้องแม่นยำของคลื่น ผู้โทรเข้าร่วมรายการ ความชัดเจนของคลื่น ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง และพัฒนารูปแบบรายการ ภาพ แสดงโครงสร้างข้อคำถามของงานวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจในการรับฟังคลื่นวิทยุ FM 103
เพศ สถานภาพผู้ตอบ อายุ ความพึงพอใจในการรับฟังวิทยุคลื่นFM 103 ลักษณะโดยทั่วไป ของรายการ ประเภทรายการที่ชอบฟัง ช่วงเวลาที่ชอบฟัง ความพึงพอใจใน รูปแบบรายการ พิธีกรผู้จัด ความถูกต้องแม่นยำของคลื่น ผู้โทรเข้าร่วมรายการ ความชัดเจนของคลื่น ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง และพัฒนารูปแบบรายการ ภาพ แสดงโครงสร้างแบบสอบถามของงานวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจในการรับฟังคลื่นวิทยุ FM 103 รูปแบบข้อคำถาม ตัวแปร/ข้อคำถาม ตรวจสอบ รายการ มาตราส่วน ประมาณค่า คำถามปลายเปิด
ภาพ แสดงโครงสร้างการเก็บรวบรวมข้อมูล Data Primary Data Secondary Data Experiment Method Observation Method Survey Method Interview Telephone Survey Internet Survey Mail Survey
ค่าร้อยละ Percentage สถิติเชิงพรรณนา Descriptive Statistics การแจกแจงความถี่ Frequency ค่าเฉลี่ย (Mean) การวัดแนวโน้ม เข้าสู่ส่วนกลาง Central tendency ค่ามัธยฐาน (Median) ค่าฐานนิยม (Mode) การวัดการกระจาย measure of variation ค่าพิสัย (Rage) ค่าส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ Quartile Deviation ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Standard Deviation ภาพ แสดงโครงสร้างการคำนวณทางสถิติเชิงพรรณนา
เพศ สถานภาพผู้ตอบ อายุ ความพึงพอใจในการรับฟังวิทยุคลื่นFM 103 ลักษณะโดยทั่วไป ของรายการ ประเภทรายการที่ชอบฟัง ช่วงเวลาที่ชอบฟัง ความพึงพอใจใน รูปแบบรายการ พิธีกรผู้จัด ความถูกต้องแม่นยำของคลื่น ผู้โทรเข้าร่วมรายการ ความชัดเจนของคลื่น ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง และพัฒนารูปแบบรายการ ภาพ แสดงโครงสร้างเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจในการรับฟังคลื่นวิทยุ FM 103 รูปแบบข้อคำถาม ตัวแปร/ข้อคำถาม ตรวจสอบรายการ คำถามปลายเปิด เลือกคำตอบได้ มากกว่า1 ข้อ เรียงลำดับตัวเลือก มาตราส่วน ประมาณค่า คำถามปลายเปิด
การวิจัย(Research) การวิจัยเป็นกระบวนการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงหรือปรากฏการณ์ตามธรรม ชาติอย่างมีระบบระเบียบและมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน เพื่อให้ได้ความรู้ที่เชื่อถือได้ ประกอบด้วยลักษณะสำคัญ 3 ประการคือ • เป็นกระบวนการค้นคว้าหาข้อเท็จจริงหรือปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ • เป็นกระบวนการหรือการกระทำที่มีระบบระเบียบ • เป็นการกระทำที่มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน
ต่อ ความหมายในลักษณะนิยามเชิงแนวคิด เช่น การวิจัย 1. เป็นการทำให้ประจักษ์ 9. เป็นเหมือนกับน้ำแข็งลอยน้ำ 2. เป็นเครื่องกำหนดความรู้ 3. เป็นกระบวนการศึกษาค้นคว้าซ้ำๆ 4. เป็นกรรมวิธีที่มีการวางแผนอย่างเป็นระบบระเบียบ 5. เป็นกระบวนการที่ใช้เหตุผล 6. เป็นการประดิษฐ์คิดค้น 7. เป็นวิถีแห่งปัญญา 8.เป็นเหมือนกับการขุดทอง
การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง(Review Related Literatures๗ เป็นส่วนที่สำคัญมากของการวิจัย ช่วยให้ว่าจะทำวิจัยอย่างไร จะเขียน รายงานการวิจัยทุกหัวข้อได้อย่างไร เป็นส่วนที่ช่วยสนับสนุนการกำหนด กรอบแนวคิดและสมมติฐานในการทำวิจัย งานวิจัยที่เกี่ยวข้องควรทบทวนในเรื่องต่อไปนี้ • สภาพปัญหาที่เป็นปัญหา อุปสรรคของเรื่องนั้นมีร่องรอยเป็นมาอย่างไร มีข้อมูลอะไรสนับสนุนว่าเป็นปัญหา
การออกแบบการวิจัยเป็นทั้งแผนการทำวิจัย และเทคนิควิธีการที่ เลือกมาใช้ศึกษาค้นคว้าหาคำตอบในปัญหาการวิจัยรวมทั้งกลวิธี ต่างๆ ที่จะทำให้การวิจัยนั้นมีแระสิทธิภาพสูงสุด โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อหาคำตอบของปัญหาการวิจัยและเพื่อควบคุมความแปรปรวนที่ เกิดขึ้น การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การออกแบบการวิจัยจึงแผนการที่ระบุเกี่ยวกับการออกแบบการวิจัยจึงแผนการที่ระบุเกี่ยวกับ • กรอบแนวคิด(conceptual framework) ในการทำวิจัยเรื่องนั้น • ปัญหาและสมมติฐานการวิจัย • ระเบียบวิธีการวิจัยเทคนิคการสุ่มตัวอย่าง • เทคนิคการรวบรวมข้อมูล • วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
สมมติฐานทางการวิจัย หมายถึง ข้อความที่เดาหรือคาดคะเนคำตอบที่ได้จากการวิจัย การเดาหรือคาดคะเนนี้จะต้องเดาหรือคาดคะเนอย่างมีเหตุผล อาศัยทฤษฎี แนวคิดผลการวิจัยเรื่องก่อน ๆ ความรู้และประสบการณ์ของผู้วิจัยด้วยประกอบกัน มิใช่เดาอย่างเลือนลอย ขาดเหตุผล สมมติฐานทางการวิจัย(Research Hypothesis)
ประเด็นปัญหาการวิจัย (Research Problems) ประเด็นปัญหาการวิจัย หมายถึง คำถามที่ต้องการคำตอบซึ่งมักจะกล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสองตัวหรือมากกว่าสองตัวขึ้นไปว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร เช่น ต้องการทราบว่า การใช้รางวัลมีความสัมพันธ์กับการอนุรักษ์ป่าไม้ของนักเรียนหรือไม่
ประเด็นปัญหาการวิจัยก็คือวัตถุประสงค์การวิจัย ซึ่งเขียนในรูปของประโยคบอกเล่าหรือประโยคคำถามที่ต้องการคำตอบ เช่น • ต้องการศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน (ผู้ป่วยเบาหวานมีพฤติกรรมการดูแลตนเองอย่างไร) • เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนสอบ Entrance กับคะแนนการเรียนในปีหนึ่งสัมพันธ์กันหรือไม่อย่างไร)
ข้อเสนอโครงการวิจัย(Research Proposal) เป็นแผนงาน โครงการและกลวิธีในการทำวิจัยที่กำหนดไว้ล่วงหน้า โครงเสนอการวิจัยมีหน้าที่หลัก 2 ประการ คือ • เป็นตัวชี้นำ(guideline)ในการทำวิจัยในเรื่องนั้นๆว่ามีแนวความคิด ทฤษฎีอยู่อย่างไรต้องการหาคำตอบอะไรและจะหาคำตอบนั้นได้อย่างไร • เป็นเกณฑ์ในการประเมินงานค้นคว้าวิจัยเรื่องนั้นว่าประสบผลสำเร็จเพียงใด
รายงานการวิจัย(Research Report) รายงานการวิจัยเป็นเอกสารที่ได้จากการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลมา วิเคราะห์นำมาเรียบเรียงขึ้นใหม่อย่างมีระบบระเบียบตามสากลนิยม และได้ เนื้อหาสาระครบถ้วนสมบูรณ์ รายงานการวิจัยทำให้ผู้อ่านทราบว่า • ทำอะไร • ทำอย่างไร • ทำไมจึงต้องทำมีกรอบแนวคิดหลักการและเหตุผลอย่างไร • ทำแล้วได้ผลอย่างไร
การทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง(Review Related Literatures๗ เป็นส่วนที่สำคัญมากของการวิจัย ช่วยให้ว่าจะทำวิจัยอย่างไร จะเขียน รายงานการวิจัยทุกหัวข้อได้อย่างไร เป็นส่วนที่ช่วยสนับสนุนการกำหนด กรอบแนวคิดและสมมติฐานในการทำวิจัย งานวิจัยที่เกี่ยวข้องควรทบทวนในเรื่องต่อไปนี้ • สภาพปัญหาที่เป็นปัญหา อุปสรรคของเรื่องนั้นมีร่องรอยเป็นมาอย่างไร มีข้อมูลอะไรสนับสนุนว่าเป็นปัญหา
ต่อ • เนื้อหาของเรื่องนั้นมีอะไรบ้าง มีขอบเขตมากน้อยแค่ไหน คำและข้อความที่เกี่ยวข้องมีความหมายทางวิชาการและการ วิจัยอย่างไร • แนวคิดและทฤษฎีมีอะไรบ้าง ใจความทฤษฎีว่าอย่างไร • รูปแบบการวิจัย การทำวิจัยเรื่องนี้ใช้การทำวิจัยอย่างไรบ้าง มีกรอบแนวคิดอย่างไร มีตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม วัตถุประสงค์และ สมมติฐานตั้งกันไว้อย่างไร การสุ่มตัวอย่าง วิธีการรวบรวบข้อมูลและ วิเคราะห์อย่างไร
ต่อ • วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการทำวิจัยและรวบรวมข้อมูลมีอะไรบ้างมีคุณบัติอย่างไร มีการพัฒนาหรือทดสอบคุณภาพอย่างไรบ้าง • งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มีใครทำอะไรบ้าง เรื่องอะไร ทำที่ไหน เมื่อไร ได้ผลอย่างไร รวมทั้งมีปัจจัยหรือตัวแปรอะไรบ้างที่เกี่ยวข้องหรือมีผลต่อการวิจัย
ขนาดกลุ่มตัวอย่าง(sample size) ขนาดกลุ่มตัวอย่างเป็นจำนวนตัวอย่างที่ต้องการใช้การทำวิจัย การจะ ใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างามากน้อยเท่าใด ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง ที่สำคัญ • ความเสมอเหมือนกันของหน่วยประชากรที่ศึกษา ถ้าเหมือนกันมาก ใช้น้อยก็พอ ถ้าต่างกันมากก็ต้องเอามามากหน่อย • จำนวนตัวแปรที่ต้องศึกษา ถ้ามีตัวแปรอิสระมาก หลายตัว และแต่ละตัวแบ่งประเภทเป็นหลายระดับจะต้องเอามามาก มิฉะนั้นเมื่อแบ่งเป็นกลุ่มแล้วจะไม่พอวิเคราะห์ ถ้าเปรียบเทียบแต่ละกลุ่มไม่พอวิเคราะห์ ถ้าเปรียบเทียบแต่ละกลุ่มไม่ควรน้อยกว่า 10 ตัวอย่าง แต่เพื่อความปลอดภัยควรใช้กลุ่มละประมาณ 20
ต่อ • วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ถ้าใช้ส่งแบบสอบถามใช้มากก็ได้ แต่ถ้าใช้การสัมภาษณ์หรือการสังเกตควรใช้น้อยหน่อย • เวลา กำลังคน และ เงิน ถ้ามีมาก็ใช้มาก ถ้า น้อยก็ใช้ให้พอเหมาะ • ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น ตามทฤษฎีถ้าใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างน้อยจะมีความคลาดเคลื่อนมาก แต่ถ้าเพิ่มขนาดกลุ่มตัวอย่างมากขึ้น ความคลาดคลื่นจะลดลงเมื่อเพิ่มขนาดกลุ่มตัวอย่างถึงจุดหนึ่ง ความคลาดจะคงที่และถ้าเพิ่มมากขึ้นอีก ความคลาดเคลื่อนอาจจะเพิ่มขึ้นอีก สูตรการหาขนาดกลุ่มตัวอย่างที่สามรถใช้ได้ดีเมื่อมีโอกาสเกิดและไม่เกิดเหตุการณ์ที่ต้องการศึกษาเท่ากัน คือสูตรของ Yamane N คือจำนวนสมาชิกประชากร eคือความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ถ้า e= 0.05 จะมีค่าใกล้เคียงกับสูตร
ความคลาดเคลื่อนเชิงการสุ่ม (Sampling Error) ความคลาดเคลื่อนเชิงการสุ่มเป็นความคลาดเคลื่อนของค่าสังเกต(Observation)ที่เกิดจากการสุ่มตัวอย่าง หรืออีกนัยหนึ่งเป็นผลต่างของค่าสังเกตที่ได้จากประชากรกับที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง นั่นคือ ค่าความคลาดเคลื่อน ค่าเฉลี่ยของประชากร ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง
วิธีการทางวิทยาศาสตร์(Scientific Approach) วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นรูปแบบเชิงระบบโดยเฉพาะของการคิดค้นหาเหตุผลและสืบเสาะ แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ซึ่งมี 5 ขั้นตอน ได้แก่ (Van Dalen, 1979 : 12) • มีความรู้สึกว่าเป็นปัญหาคือมีเรื่องที่เกิดสงสัยเป็นปัญหา อุปสรรค ต้องการทำความเข้าใจ ใคร่หาคำตอบ • กำหนดและทำความเข้าใจปัญหานั้นให้ชัดเจน • เสนอคำตอบของปัญหาด้วยการตั้งเป็นสมมติฐาน • คิดค้นหาเหตุผลเชิงอนุมานและอุปมานวิธีเพื่อตรวจสอบสมมติฐานให้แน่ใจว่าสมมติฐานที่มีเหตุผลและถูกต้อง • ทดสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้ด้วยการรวบรวมข้อมูลนำมาวิเคราะห์ยืนยันสมมติฐานที่ตั้งไว้
กาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Research) การวิจัยทางวิทยาศาสตร์เป็นการค้นคว้าหาเหตุผลของปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ อย่างเป็นระบบ เชิงประจักษ์และมีการควบคุมตัวแปรภายนอก เพื่อนำไปสู่การสร้าง ทฤษฎีและสมมติฐานที่แสดงถึง ความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์นั้น การวิจัยทางวิทยาศาสตร์นั้นจะต้อง (Kerlinger, 1982 : 11-2) • เป็นกระบวนการค้นคว้าที่เป็นระบบและมีการควบคุมตัวแปรที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผลการวิจัยที่ได้เชื่อถือได้สูงสุด • เป็นการค้นคว้าหาเหตุผลเชิงประจักษ์ ด้วยการตรวจสอบข้อมูล หลักฐานที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริงและตรวจสอบอย่างเป็นปรนัย