150 likes | 362 Views
การสร้างงาน P&P โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM). วิสัยทัศน์. “ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา ”. คำ ตอบอยู่ ที่การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม.
E N D
การสร้างงาน P&P โดยใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (SRM)
วิสัยทัศน์ “ประชาชนสามารถแสดงบทบาทในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน สภาพแวดล้อมและสังคมโดยรวมได้อย่างยั่งยืน ด้วยความ ตั้งใจ เต็มใจ มีจิตสำนึกที่ดีและมีศรัทธาในการพัฒนา” คำตอบอยู่ที่การปรับเปลี่ยน พฤติกรรม
การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เปลี่ยนแปลงอะไร? (ยุทธศาสตร์=การเปลี่ยนแปลง) เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์ แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ SRM (๔ ปี) แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ SLM (๒ ปี) กลยุทธ์ เปลี่ยนแปลงอย่างไร? แผนปฏิบัติการ (๑ ปี) กิจกรรม งาน (การกระทำเชิง)วิชาการ งาน(การกะทำเชิง)สังคม ตัวชี้วัด
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM)ร่วมกรมอนามัยและควบคุมโรค แสดง Road Map (เส้นสีแดง) ประชาชนปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์/พฤติกรรม จุดแตกหักอยู่ในบริเวณสีแดงนี้ อปท. มอบอำนาจให้ท้องที่ดำเนินการ ชุมชน มีมาตรการทางสังคม ชุมชนมีโครงการของชุมชนโดยชุมชน ประชาชน ชุมชน มีระบบเฝ้าระวังที่มีประสิทธิภาพ อปท. มอบอำนาจให้ คณะอสม.ดำเนินการ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อนและสนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่ม องค์กรในและนอกพื้นที่มีบทบาท ทำบันทึกความร่วมมือ หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ภาคี การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบสื่อสารสารสนเทศมีประสิทธิภาพ ใช้แผนปฏิบัติการ ปรับปรุงแผนตำบล กระบวนการ ระบบบริหารจัดการองค์กรและภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ องค์กรมีบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการทำงาน ระบบข้อมูลมีคุณภาพ อบรมแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ พื้นฐาน บุคลากร แกนนำมีสมรรถนะที่เหมาะสม
การถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่นการถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่น กรม / เขต จังหวัด อำเภอ • SRM + SLM • รายประเด็น • จุดหมายปลายทางSRM / SLM • ของจังหวัด • (ถ้ามี) • จุดหมายปลายทาง • SLMของอำเภอ • ตารางนิยามฯ • 11 ช่อง(บางส่วน) • จุดหมายปลายทาง+ SLM ร่วมสองกรมฯ บริบทของตำบล ประเด็นกำหนดโดยผู้บริหาร เติมเต็มตารางนิยามเป้าประสงค์ 11 ช่อง แผนปฏิบัติการตำบลรายประเด็น ตำบล ใช้แผนที่ความคิด ใช้ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังตำบล
ตัวอย่าง แผนปฏิบัติการ (Mini-SLM) ระดับประชาชน (จุดแตกหักอยู่ที่นี่) ต้องการความต่อเนื่องจึงจะได้ผล กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยน กระบวนทัศน์/ พฤติกรรม CSF (หัวใจของความสำเร็จ) ดำเนินมาตรการทางสังคม (กิจกรรมสำคัญ) สร้างโครงการชุมชน (กิจกรรมสำคัญ) ใช้ข้อมูล /สื่อสาร/ความรู้(กิจกรรมเสริม) ดำเนินงานคัดกรอง / เฝ้าระวัง CSF(หัวใจของความสำเร็จ) ประชาชน องค์กรใน / นอกพื้นที่มีบทบาท ภาคี อปท.ขับเคลื่อน สาธารณสุขสนับสนุนวิชาการ
แผนการขยายงานแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์แผนการขยายงานแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ โรงเรียน นวัตกรรมชุมชน กองทุนฯ กองทุนฯ กองทุนฯ • อปท. • สาธารณสุข องค์กรต่างๆใน/นอก พื้นที่ กองทุนฯ กองทุนฯ กองทุนฯ สปสช. (ทีมวิทยากรเขต) ท้องที่อำเภอ
ภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดภารกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เกี่ยวกับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ • ตั้งคณะทำงานจัดการแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มีสสจ.เป็นประธาน สมาชิกมีทุกระดับตั้งแต่จังหวัด ( งานพัฒนายุทธศาสตร์ ส่งเสริมฯ ประกันสุขภาพ สุขภาพภาคประชาชน คุ้มครองผู้บริโภค ฯลฯ)ถึงท้องถิ่น มีหน้าที่หลักคือ (1) การจัดการที่เกี่ยวข้องกับแผนที่ยุทธศาสตร์ (2) การพัฒนาบทบาทประชาชน และ (3) การจัดการนวัตกรรม • คัดเลือกกองทุนฯต้นแบบอำเภอละ 1 แห่ง • ให้อำเภอตั้งคณะทำงานประกอบด้วยภาคีที่มีส่วนสร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
4. ส่งวิทยากรที่คัดสรรแล้วเข้าร่วมเป็นทีมวิทยากรเขตที่ใช้หมุนเวียนสนับสนุนจังหวัดภายในเขต (สปสช. เขต เป็นผู้จัดการ) 5. สนับสนุนทีมวิทยากรเขตพัฒนากองทุนต้นแบบเป็นโรงเรียนสำหรับสอนกองทุนอื่นๆต่อไป 6. กองทุนต้นแบบที่จะพัฒนาเป็นโรงเรียน ต้องมีโครงการที่สามารถแสดงผลการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมของประชาชนได้ อย่างน้อย 3 ใน 5 โครงการต่อไปนี้ (1) โครงการเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม (2) โครงการควบคุมโรคไม่ติดต่อ (3) โครงการควบคุมโรคติดต่อ และ (4) โครงการเกี่ยวกับอาหารหรือโภชนาการ (5) โครงการอนามัยแม่และเด็กหรืออนามัยโรงเรียน
7. ทุกจังหวัดจะได้รับจุดหมายปลายทางและแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ร่วม (SLM) ของกรมอนามัยและกรมควบคุมโรค ให้นำไปปรับใช้ในระดับอำเภอและตำบลตามแนวทางในภาพ “การถ่ายระดับแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์สู่ท้องถิ่น” โดยให้ถ่ายระดับแผนที่ฯไปจนได้ “แผนปฏิบัติการ Mini SLM 8. การวางงานในระดับท้องถิ่น ให้ใช้ “แผนปฏิบัติการ Mini SLM” ที่สร้างจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) ทำการปรับปรุงเนื้อหาของแผนงานโครงการสุขภาพของ อปท. ให้สอดคล้อง ถือเป็นเงื่อนไขหนึ่งของการมอบอำนาจจากสาธารณสุขสู่ท้องถิ่น อาจทำเป็นข้อตกลงในระดับจังหวัดถ้าจำเป็น 9. หากท้องถิ่นพิจารณาเห็นสมควร อาจใช้ตัวอย่างแผนปฏิบัติการที่แนบมา เนื่องจากได้พิสูจน์แล้วว่าสามารถทำให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมได้ในระยะเวลาอันสั้น
เงื่อนเวลา(Deadlines)ที่แนะนำเงื่อนเวลา(Deadlines)ที่แนะนำ • คัดเลือกกองทุนฯที่จะเป็นต้นแบบให้แล้วเสร็จ อำเภอละ 1 ตำบล ภายในตุลาคม 2552 • พัฒนากองทุนฯที่คัดเลือกไว้ (สร้างนวัตกรรม) โดยประชาชน ทำให้ได้โครงการอย่างน้อย 3 โครงการ • ทำการประเมินกองทุนฯที่สามารถเป็นครูได้ ภายในมิถุนายน 2553 • เปิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกองทุนฯสุขภาพตำบลสำหรับผู้ปฏิบัติต่างตำบล และฟื้นฟู สำหรับผู้ปฏิบัติภายในตำบล ตั้งแต่ กรกฎาคม 2553
การใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์จะช่วยเร่งอัตราการพัฒนาสู่จุดหมายปลายทางคือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เร็วยิ่งขึ้นการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์จะช่วยเร่งอัตราการพัฒนาสู่จุดหมายปลายทางคือการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เร็วยิ่งขึ้น