770 likes | 1.79k Views
Product. A.Suchada Hommanee Marketing Thonburi University. ประเภทของผลิตภัณฑ์. แบ่งตามลักษณะการซื้อของผู้ซื้อ ว่าซื้อไปเพื่อวัตถุประสงค์อะไร ซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ สินค้าอุปโภคบริโภค (Consumer Goods): สินค้าอุตสาหกรรม (Industrial Goods):.
E N D
Product A.SuchadaHommanee Marketing Thonburi University
ประเภทของผลิตภัณฑ์ • แบ่งตามลักษณะการซื้อของผู้ซื้อว่าซื้อไปเพื่อวัตถุประสงค์อะไรซึ่งแบ่งเป็น 2 ประเภทได้แก่ • สินค้าอุปโภคบริโภค (Consumer Goods): • สินค้าอุตสาหกรรม (Industrial Goods):
1. สินค้าอุปโภคบริโภค • แบ่งได้ตามแรงจูงใจและนิสัยในการซื้อดังนี้ • สินค้าสะดวกซื้อ(Convenience Goods) • สินค้าเปรียบเทียบซื้อ(Shopping Goods) • สินค้าเจาะจงซื้อ(Specialty Goods) • สินค้าไม่แสวงซื้อ(Unsought Goods)
ประเภทของสินค้าอุปโภคบริโภคประเภทของสินค้าอุปโภคบริโภค สินค้าหลักสำคัญ สินค้าสะดวกซื้อ สินค้าซื้อฉับพลัน สินค้าเจาะจงซื้อ สินค้าซื้อฉุกเฉิน ซื้อเหมือนกัน สินค้าเปรียบเทียบซื้อ ซื้อต่างกัน สินค้าไม่แสวงซื้อ
1.1 สินค้าสะดวกซื้อ • เป็นสินค้าที่ผู้บริโภครู้จักดี • ราคาต่ำ • ความพยายามในการซื้อน้อย • ไม่ต้องตัดสินใจนาน • ไม่เปรียบเทียบกันมาก
1.1 สินค้าสะดวกซื้อ • สินค้าหลักสำคัญ(Staple Goods):เช่นสบู่ • สินค้าที่ซื้อฉับพลัน(Impulse Goods):ซื้อโดยไม่ได้วางแผนมาก่อน • สินค้าที่ซื้อในยามฉุกเฉิน(Emergency Goods):ซื้อเพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเช่นน้ำมันหมดลืมปากกาซึ่งไม่คำนึงถึงคุณภาพหรือราคามากนัก
สินค้าซื้อฉับพลัน แบ่งได้ออกเป็น 4 ลักษณะคือ • การซื้อฉับพลันโดยไม่ได้ตั้งใจ (Pure Impulse Buying):ซื้อเพราะแรงดลใจหรือแรงกระตุ้นเช่นการจัดแสดงสินค้า, พนักงานขาย • การซื้อฉับพลันที่เกิดจากการระลึกได้ (Reminder ImpulseBuying):ระลึกได้ว่าสินค้าหมดหรือจำโฆษณาได้
สินค้าซื้อฉับพลัน • การซื้อฉับพลันที่กำหนดเงื่อนไขไว้ (Planned Impulse Buying):ซื้อเพราะมีเงื่อนไขจูงใจเช่นช่วงลดราคาสินค้า • การซื้อฉับพลันที่เกิดจากการเสนอแนะ (Suggestion ImpulseBuying):ซื้อสินค้าหนึ่งแล้วทำให้นึกถึงสินค้าที่ใช้คู่กัน
1.2 สินค้าเปรียบเทียบซื้อ • จะใช้เวลาและความพยายามในการเปรียบเทียบปัจจัยต่างๆก่อนที่จะซื้อสินค้านั้นเช่นราคาคุณภาพตรายี่ห้อ
1.2 สินค้าเปรียบเทียบซื้อ • สินค้าเปรียบเทียบซื้อที่เหมือนกัน(Homogeneous Shopping Goods): สินค้าที่มีลักษณะหรือคุณภาพที่เราต้องการเหมือนกันเรามักใช้ราคาต่ำเป็นตัวตัดสินใจ • สินค้าเปรียบเทียบซื้อที่ต่างกัน(Heterogeneous Shopping Goods): สินค้าลักษณะต่างกันเรามักใช้คุณภาพรูปแบบความเหมาะสมในการตัดสินใจ
1.3 สินค้าเจาะจงซื้อ • สินค้ามีลักษณะพิเศษโดดเด่นเฉพาะตัวที่ลูกค้าต้องการ • ลูกค้าใช้ความพยายามในการซื้อมาก • สินค้าบ่งบอกถึงค่านิยมรสนิยมและระดับของผู้ซื้อได้ • ลูกค้าจะมี Brand Loyalty สูง • ลูกค้าคำนึงถึงคุณภาพภาพลักษณ์สินค้ามากกว่าเรื่องราคา
1.4 สินค้าที่ไม่แสวงซื้อ เป็นสินค้าที่ผู้บริโภคไม่รู้จัก หรือรู้จักแต่ยังไม่ต้องการซื้อ หรือไม่จำเป็นต้องซื้อ มักเป็นสินค้าใหม่ ผู้ขายต้องใช้ความพยายามในการขายมาก ตัวอย่างสินค้า เช่น เตารีดไอน้ำ เครื่องเตือนความจำ ปาล์ม ประกันชีวิต
2. สินค้าอุตสาหกรรม • แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆได้แก่ • วัตถุดิบและชิ้นส่วนประกอบ (Materials and Parts) • สินค้าประเภททุน (Capital Items) • วัสดุสิ้นเปลืองและบริการ (Supplies and Services)
ประเภทของสินค้าอุตสาหกรรมประเภทของสินค้าอุตสาหกรรม วัตถุดิบ (Raw Material) วัตถุดิบและชิ้นส่วน ประกอบ Material and Parts วัสดุและชิ้นส่วนประกอบในการผลิต Manufactured Materials & Parts สินค้าประเภททุน Capital Items สิ่งติดตั้ง (Installation) อุปกรณ์ประกอบ (Accessory Equipment) วัสดุสิ้นเปลืองและ บริการ Supplies and services วัสดุสิ้นเปลือง (Supplies) บริการ(services)
กลุ่มที่ 1 วัตถุดิบ และชิ้นส่วนประกอบ 1. วัตถุดิบ (Raw Materials): ไม่ผ่านการแปรรูป 1.1 ผลิตภัณฑ์เกษตรกรรม(Farm Product): ได้จากการทำไร่นาสวน 1.2 ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ(Natural Product): เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเช่นป่าไม้ประมง
กลุ่มที่ 1 วัตถุดิบ และชิ้นส่วนประกอบ 2. วัสดุและชิ้นส่วนประกอบในการผลิต (ManufacturedMaterials Parts):เป็นสินค้าที่ผ่านการแปรรูปมาแล้วเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของสินค้าสำเร็จรูป
วัสดุและชิ้นส่วนประกอบในการผลิต(ต่อ)วัสดุและชิ้นส่วนประกอบในการผลิต(ต่อ) 2.1 วัสดุประกอบ(Component Materials): เปลี่ยนแปลงรูปร่างเช่นแป้งขนมปัง 2.2 ชิ้นส่วนประกอบ(Component Parts): ไม่ต้องเปลี่ยนรูปร่างเช่นตะปู
กลุ่มที่ 2 สินค้าประเภททุน • ใช้ในกระบวนการผลิตมีขนาดใหญ่ราคาสูงอายุการใช้งานนานแต่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งในสินค้าประกอบด้วย 1. สิ่งติดตั้ง(Installation): เป็นสินค้าที่คงทนถาวรใช้งานได้นานจำเป็นต่อการผลิตได้แก่ 1.1 สิ่งปลูกสร้างและอาคาร(Building):อาคาร สำนักงาน 1.2 อุปกรณ์ถาวร(Fix Equipment): เครื่องจักร
กลุ่มที่ 2 สินค้าประเภททุน 2. อุปกรณ์ประกอบ(Accessory Equipment):มีขนาดเล็กช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงานหรือการผลิตต่างๆได้แก่ 2.1 อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในโรงงาน(FactoryEquipment and Tools):ไขควงรถเข็น 2.2 อุปกรณ์ในสำนักงาน(Office Equipment):โต๊ะเก้าอี้คอมพิวเตอร์
กลุ่มที่ 3 วัสดุสิ้นเปลืองและบริการ • ช่วยในการดำเนินการผลิตได้แก่ 1. วัสดุสิ้นเปลือง(Supplies): • เป็นสินค้าสะดวกซื้อในตลาดอุตสาหกรรม • ใช้แล้วหมดไป • ราคาไม่สูง • ซื้อบ่อยครั้ง
1. วัสดุสิ้นเปลือง(Supplies): แบ่งเป็น 1.1 วัสดุบำรุงรักษาทำความสะอาด(Maintenance Items):น้ำมันหล่อลื่น , น้ำยาล้างห้องน้ำ 1.2 วัสดุซ่อมแซม(Repair Items):ตะปูกาวถ่านไฟฉาย 1.3 วัสดุในการดำเนินงาน(Operating Supplies):เครื่องเขียน
กลุ่มที่ 3 วัสดุสิ้นเปลืองและบริการ 2. บริการ (Services):สนับสนุนการทำงานของกิจการโดยเฉพาะงานที่กิจการไม่ถนัด 2.1 บริการบำรุงรักษา (Maintenance Services): ทำความสะอาดประกันภัยรักษาความปลอดภัย 2.2 บริการซ่อมแซม (Repair Services): บริการซ่อมแซมเครื่องใช้เครื่องจักรต่างๆ 2.3 บริการให้คำแนะนำธุรกิจ (Business Advisory Services): บัญชีอเยนซี่โฆษณา
ส่วนประสมผลิตภัณฑ์ (Product Mix) • คือ กลุ่มของผลิตภัณฑ์ทุกชนิดที่ธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งนำเสนอขาย หรือผลิตออกจำหน่าย ประกอบด้วยสายผลิตภัณฑ์หลายสาย และมี รายการผลิตภัณฑ์ที่ต่างกันออกไป
สายผลิตภัณฑ์(Product Line) • กลุ่มของผลิตภัณฑ์หลายชนิดที่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เช่น ลักษณะการใช้งานคล้ายกัน หรือลูกค้าเป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น สายผลิตภัณฑ์เครื่องเขียน สายผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้า
ชนิดหรือรายการผลิตภัณฑ์ (Product Item) • คือ ลักษณะที่แตกต่างกันของสินค้าแต่ละตัวภายในสายผลิตภัณฑ์ เช่น ขนาด หีบห่อ ราคา เป็นต้น
ลักษณะสำคัญของผลิตภัณฑ์ลักษณะสำคัญของผลิตภัณฑ์ • ความกว้างของส่วนประสมผลิตภัณฑ์ (Width of the Product Mix): จำนวนของสายผลิตภัณฑ์ที่นำเสนอขาย • ความลึกของส่วนประสมผลิตภัณฑ์(Depth of the Product Mix): จำนวนชนิดของผลิตภัณฑ์ที่นำเสนอขายในแต่ละสายผลิตภัณฑ์
ลักษณะสำคัญของผลิตภัณฑ์ลักษณะสำคัญของผลิตภัณฑ์ • ความยาวของส่วนประสมผลิตภัณฑ์ (Length of the Product Mix) :จำนวนชนิดของผลิตภัณฑ์ทั้งหมดที่บริษัทมี • ความสอดคล้องกันของส่วนประสมผลิตภัณฑ์ (Consistency of the Product Mix): ความสัมพันธ์กันของแต่ละสายผลิตภัณฑ์
ส่วนประสมผลิตภัณฑ์ (Product Mix) บริษัทผลิตสินค้า 3 สายผลิตภัณฑ์ 1. สายผลิตภัณฑ์ 2. สายผลิตภัณฑ์ 3. ผลิตภัณฑ์เกี่ยว เกี่ยวกับเส้นผม เกี่ยวกับผิวพรรณ กับเครื่องหอม * ยาสระผม สำหรับผมแห้ง, ผมแตกปลาย, มีรังแค * ครีมนวดผม สำหรับผมแห้ง, ผมแตกปลาย, มีรังแค * ยาย้อมผม สีแดง, สีดำ, สีน้ำตาล, สีม่วง ความลึกของสายผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับเส้นผมทั้งหมด คือ 10 รายการ Product Consistency: ความสอดคล้องของสายผลิตภัณฑ์
ตัวอย่างส่วนประสมผลิตภัณฑ์ตัวอย่างส่วนประสมผลิตภัณฑ์ บริษัท เครื่องไฟฟ้า อุปกรณ์กีฬา ลูกบอล ตู้เย็น หนังแท้, เทียม สีฟ้า , สีขาว ขนาดเบอร์ 1 ปิงปอง โทรทัศน์ 14’ , 21’ , 25’
กลยุทธ์ส่วนประสมผลิตภัณฑ์กลยุทธ์ส่วนประสมผลิตภัณฑ์ 1. การขยายส่วนประสมผลิตภัณฑ์ 2. การลดส่วนประสมผลิตภัณฑ์ 3. การเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่เดิม 4. การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์
1. การขยายส่วนประสมผลิตภัณฑ์ • เป็นการเพิ่มสายผลิตภัณฑ์ หรือเพิ่มผลิตภัณฑ์ในสายผลิตภัณฑ์หนึ่งๆ ให้ลึกมากขึ้นกว่าเดิม • สายผลิตภัณฑ์ใหม่ จะสอดคล้องกับสายผลิตภัณฑ์เดิมหรือไม่ก็ได้
2. การลดส่วนประสมผลิตภัณฑ์ • ตัดสายผลิตภัณฑ์ที่ไม่ทำกำไรออกไป หรือตัดรายการผลิตภัณฑ์ในสายผลิตภัณฑ์นั้นๆ ลง • สาเหตุที่ตัดเนื่องจากล้าสมัย ยอดขายตกต่ำ กำไรลดลง ประสบปัญหาขาดทุน เป็นต้น
3. การเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่เดิม • ออกผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือปรับปรุงผลิตภัณฑ์เดิมก็ได้ • การออกผลิตภัณฑ์ใหม่ มีความเสี่ยงสูงมาก • การปรับปรุงผลิตภัณฑ์เดิม ทำได้หลายวิธี เช่น • ออกแบบหีบห่อ หรือบรรจุภัณฑ์ใหม่ • ใช้วัสดุ หรือวัตถุดิบตัวใหม่ • เพิ่มสารพิเศษบางตัว • เปลี่ยนวิธีการส่งเสริมการขายในรูปแบบใหม่
4. การกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ • เป็นการกำหนดคุณลักษณะ หรือภาพพจน์ของผลิตภัณฑ์โดยเปรียบเทียบกับคู่แข่งขัน เพื่อสร้างความแตกต่าง • เป็นการพิจารณาจากความเห็นของผู้บริโภคเป็นหลัก หรือใช้คุณลักษณะที่แท้จริงของสินค้าก็ได้
วิธีกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์วิธีกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ • กำหนดตามราคาและคุณภาพ เช่นท็อปส์ถูกทุกวัน, งานพิมพ์คมชัดไม่มีสะดุด • กำหนดตามผู้ใช้ผลิตภัณฑ์:รองเท้าถูกใจวัย Teen • กำหนดตามคุณสมบัติ: ยาสีฟันดอกบัวคู่ ดีต่อเหงือกและฟัน
วิธีกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์วิธีกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ • กำหนดตามการใช้และการนำไปใช้: ท่อเหล็กเพื่องานสร้างบ้าน • กำหนดตามระดับชั้นผลิตภัณฑ์: แบล็คฯศักดิ์ศรีที่เหนือชั้น
วิธีกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์วิธีกำหนดตำแหน่งผลิตภัณฑ์ • กำหนดเพื่อการแข่งขัน: โลตัส เราถูกกว่า • กำหนดจากหลายวิธีร่วมกัน: เชลล์ท็อกซ์ ฆ่ายุงร้าย แต่ไม่ทำร้ายคุณและลูกรัก
ลักษณะตลาดและพฤติกรรมการซื้อตลาดสินค้าบริโภค ( Consumer market ) • 1. ผู้ซื้อคือผู้บริโภคคนสุดท้าย • 2. จำนวนผู้ซื้อมีมากและอยู่กระจัดกระจาย • 3. ลักษณะความยืดหยุ่นของ Demand ต่อราคาจะมาก • หรือน้อยขึ้นกับลักษณะของสินค้าและตัวผู้บริโภค • 4. ลักษณะการซื้อแต่ละครั้งมีมูลค่าต่ำ • 5. การตัดสินใจซื้อใช้เหตุผลหรืออารมณ์เพราะขึ้นกับ • ความพอใจส่วนตัว
ลักษณะตลาดและพฤติกรรมการซื้อตลาดสินค้าอุตสาหกรรม ( Industrial market) • 1. ผู้ซื้อคือลูกค้าทางอุตสาหกรรม • 2. จำนวนผู้ซื้อมีน้อยและมักอยู่รวมกันเป็นกลุ่มตาม • สภาพภูมิศาสตร์ • 3. ลักษณะความยืดหยุ่นของ Demand ต่อราคา • ค่อนข้างน้อย • 4. ลักษณะการซื้อแต่ละครั้งมีมูลค่าสูง • 5. การตัดสินใจซื้อมักจะใช้เหตุผล
กลยุทธ์การตลาดด้านผลิตภัณฑ์ สำหรับสินค้าบริโภค • 1. มีสินค้าให้เลือกมาก • 2. บทบาทของตราสินค้ามีความสำคัญมาก • 3. การให้บริการมีความสำคัญน้อย • 4. การบรรจุภัณฑ์มีความสำคัญมาก
กลยุทธ์การตลาดด้านราคา สำหรับสินค้าบริโภค • การตั้งราคาขึ้นอยู่กับต้นทุน,Demand และการแข่งขัน • สินค้าสะดวกซื้อ : ราคาค่อนข้างต่ำ • สินค้าเลือกซื้อ : ราคาสูงหรือต่ำขึ้นกับว่าสามารถสร้าง • ความแตกต่างจากคู่แข่งขันได้หรือไม่ • สินค้าเจาะจงซื้อ : ราคามีแนวโน้มสูง • สินค้าไม่แสวงซื้อ : ราคาสูง
กลยุทธ์การตลาดด้านการจัดจำหน่ายสำหรับสินค้าบริโภคกลยุทธ์การตลาดด้านการจัดจำหน่ายสำหรับสินค้าบริโภค • มีจำนวนระดับของช่องทางการจัดจำหน่ายยาวกว่า • จำนวนคนกลางในแต่ละระดับของช่องทางการจัด • จำหน่ายส่วนใหญ่มีมาก
กลยุทธ์การตลาดด้านการส่งเสริมการตลาดสำหรับสินค้าบริโภคกลยุทธ์การตลาดด้านการส่งเสริมการตลาดสำหรับสินค้าบริโภค จะเลือกใช้เครื่องมือในการส่งเสริมการตลาดตามลำดับดังนี้ 1. การโฆษณา 2. การส่งเสริมการขายเน้นConsumer promotion 3. การขายโดยใช้พนักงานขาย 4. การให้ข่าวและการประชาสัมพันธ์
กลยุทธ์การตลาดด้านผลิตภัณฑ์สำหรับสินค้าอุตสาหกรรมกลยุทธ์การตลาดด้านผลิตภัณฑ์สำหรับสินค้าอุตสาหกรรม • 1. มีสินค้าให้เลือกน้อย • 2. บทบาทของตราสินค้ามีความสำคัญน้อย • 3. การให้บริการเป็นปัจจัยสำคัญมาก • 4. การบรรจุภัณฑ์มีความสำคัญน้อย
กลยุทธ์การตลาดด้านราคาสำหรับสินค้าอุตสาหกรรมกลยุทธ์การตลาดด้านราคาสำหรับสินค้าอุตสาหกรรม • การตั้งราคาขึ้นอยู่กับต้นทุน, Demand และการแข่งขัน • นอกจากนี้ราคายังขึ้นกับ • - ประเภทของสินค้าอุตสาหกรรม • - คุณภาพ , มาตรฐาน , ค่าขนส่งของสินค้า , • การบริการหลังการขาย • - ปริมาณการสั่งซื้อแต่ละครั้ง
กลยุทธ์การตลาดด้านการจัดจำหน่ายสำหรับสินค้าอุตสาหกรรมกลยุทธ์การตลาดด้านการจัดจำหน่ายสำหรับสินค้าอุตสาหกรรม • มีจำนวนระดับของช่องทางการจัดจำหน่ายที่สั้นกว่า • จำนวนคนกลางในแต่ละระดับของช่องทางการจัด • จำหน่ายมีน้อย
กลยุทธ์การตลาดด้านการส่งเสริมการตลาดสำหรับสินค้าอุตสาหกรรมกลยุทธ์การตลาดด้านการส่งเสริมการตลาดสำหรับสินค้าอุตสาหกรรม จะเลือกใช้เครื่องมือในการส่งเสริมการตลาดตาม ลำดับดังนี้ 1. การขายโดยใช้พนักงานขาย 2. การส่งเสริมการขายเน้น Sales force promotion 3. การโฆษณา 4. การให้ข่าวและการประชาสัมพันธ์
5. การขยายสู่ตลาดส่วนบนและตลาดส่วนล่าง • การขยายสู่ตลาดส่วนบน: การเพิ่มผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีขึ้นและราคาสูงขึ้นเข้าไปในสายผลิตภัณฑ์เช่น Lexus • การขยายสู่ตลาดส่วนล่าง: การเพิ่มผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพต่ำลงเพื่อขยายไปสู่ตลาดส่วนล่างเช่นSolunaVios
กลยุทธ์การตลาดผลิตภัณฑ์กลยุทธ์การตลาดผลิตภัณฑ์ การบรรจุภัณฑ์(Packaging) หมายถึงกิจกรรมในการ ออกแบบและผลิตภาชนะบรรจุหรือสิ่งห่อหุ้มสินค้า บนบรรจุภัณฑ์จะมีป้ายฉลากปรากฎอยู่ 1. การบรรจุภัณฑ์ขั้นแรก ทำหน้าที่ห่อหุ้มตัวสินค้าเพื่อป้องกันไม่ให้สินค้าชำรุดเสียหาย เช่น หลอดยาสีฟัน 2. การบรรจุภัณฑ์ขั้นที่สอง ทำหน้าที่ห่อหุ้มบรรจุภัณฑ์ขั้นแรกมิให้เสียหายและดึงดูดความสนใจลูกค้า เช่น กล่องยาสีฟัน 3. การบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง เช่น ลัง
การตัดสินใจในการบรรจุภัณฑ์ ( Packaging decision ) การบรรจุภัณฑ์(Packaging) หมายถึงกิจกรรมในการ ออกแบบและผลิตภาชนะบรรจุหรือสิ่งห่อหุ้มสินค้าบนบรรจุภัณฑ์ จะมีป้ายฉลากปรากฎอยู่