600 likes | 1.32k Views
Amoeba. Amoeba. ( Subphylum Sarcodina ). - พวกอะมีบา - การเคลื่อนไหวใช้ Pseudopodia - การสืบพันธุ์เป็นแบบ Binary fission, Budding etc. - มีการ form cyst. Order Amoebida Suborder Tubulina - แบ่งออกเป็น Pathogenic : Entamoeba histolytica.
E N D
Amoeba ( Subphylum Sarcodina ) - พวกอะมีบา - การเคลื่อนไหวใช้ Pseudopodia - การสืบพันธุ์เป็นแบบ Binary fission, Budding etc. - มีการ form cyst
OrderAmoebida SuborderTubulina - แบ่งออกเป็น Pathogenic :Entamoeba histolytica
Non Pathogenic:Entamoeba hartmani Entamoeba coli Entamoeba polecki Endolimax nan Iodamoeba butschl Dientamoeba fragilis ( พบใน Intestine ) Entamoeba gingivalis (พบในBuccal cavity)
- สำหรับในการแยก genus อาศัย nuclear structure เป็นหลักคือ
ความแตกต่างของ nuclear structure คือ Central karyosome : karyosome อยู่ตรงกลาง e.g. Entamoeba histolytica Eccentric karyosome : karyosome ไม่ได้อยู่ตรงกลาง e.g. Entamoeba coli
Peripheral chromatin : กระจายสม่ำเสมอ และ บาง (fine) e.g. Entamoeba histolytica : เป็นกระจุก (plague) e.g. Entamoeba coli
- พวกอะมีบานี้มี 2 forms คือ 1. Trophozoite stage 2. Cyst stage - โดยมากมักพบเป็น cyst และพบว่ามี nucleus มากกว่า 1 อัน - สำหรับ trophozoite ถือเป็น motile stage ซึ่งจะพบ nucleus เพียง 1 อัน
ลักษณะของอะมีบาชนิดต่างๆลักษณะของอะมีบาชนิดต่างๆ • 1. Entamoeba histolytica • ปัจจุบันพบว่า Entamoeba histolytica • ระยะ Trophozoite มี 2 strain
1.1 Histolytica type ขนาด 20 - 35 um ถือเป็นพวก virulent strain
1.2 Minuta type E. dispar ขนาด 10 - 20 um ภายในมี Food vacuole ( Food partical ) อาจเป็นพวกBacteria,รูปร่างกลม
ระยะ cyst stage ถือเป็น Infective stage • ลักษณะกลม ขนาด 12 - 20 um • พบได้ 1 - 4 nuclei • ลักษณะที่พบเมื่อไม่ได้ย้อมสี ( unstain )
2. Entamoeba hartmani - ลักษณะ nucleus คล้าย E.histolytica
- ระยะ Cyst ขนาดเล็กกว่า 10 um
3. Entamoeba coli - ลักษณะของ nucleus
4. Endolimaxnana - เรียก limax เนื่องจากพบว่า karyosome ใหญ่มาก
- Trophozoite ขนาด 6 - 15 um - cyst 1 - 4 nuclei - Non - pathogenic ( อยู่ในลำไส้คนแต่ไม่ invade )
5. Iodamoeba butschlii - สามารถติดสี Iodine - อยู่ใน lumen ของลำไส้ใหญ่ - เคยมีรายงาน 1 ราย ( Derick , 1948 ) เมื่อตรวจศพ พบเชื้อใน ปอด สมอง
6. Dientamoeba fragilis - Trophozoite มี 2 nuclei - ขนาด 5 - 15 um
7. Entamoeba gingivalis - พบที่ Buccal cavity - ไม่มี cyst
Entamoeba histolytica เป็นอะมีบาพวกที่ทำให้เกิดโรค Pathogenic - โดยทำให้เกิดโรค Amoebiasis ( บิดมีตัว )
- Distribution กระจายทั่วไป โดยเฉพาะบริเวณที่ ประชาชนอยู่กันอย่างแออัด และมี สาธารณสุขไม่ดี - Infective stage คือ Mature cyst ( ภายในพบ nucleus 4 อัน )
- Mode of infection โดยการกิน muture cyst เข้าไป อาจติดไปกับน้ำและอาหาร ( น้ำที่มี chlorine ไม่สามารถฆ่า cyst ได้ )
อาการของโรค ( Clinical ) แบ่งออกเป็น 2 พวก 1. Intestinal amoebiasis - เป็นอาการของโรค amoebiasis ที่เกิดในลำไส้ อาการที่พบ 1. อาการท้องร่วง(amoebic dysentery)
2. เป็นแผลที่ลำไส้ ( amoeboma ) มีลักษณะคล้าย เป็นเนื้อร้ายแบบมะเร็ง 3. เกิดอาการเลือดออกในลำไส้ ( haemorrhage )
2. Extraintestinal amoebiasis - เป็นอาการที่เกิดจากเชื้ออะมีบาแพร่ กระจายไปยังอวัยวะนอกลำไส้ 1. เกิดเป็นหนองที่ตับ ( amoebic liver abscess ) 2. เกิดเป็นหนองที่ปอด ( amoebic lung abscess )
3. เกิดเป็นหนองที่สมอง ( amoebic brain abscess ) 4. อาจพบว่าเกิดการเน่าของเนื้อเยื่อ จนเกิดเป็นแผลหนองทะลุออกมา ถึงผิวหนัง ( cutaneous amoebiasis )
การตรวจวินิจฉัย( Diagnosis ) 1. Direct method - เป็นการตรวจเชื้อโดยตรง 1.1 Intestinal amoebiasis - ตรวจหา cyst และ trophozoite จากอุจจาระ
1.2 Extraintestinal amoebiasis - ตรวจหา cyst และ trophozoite จากของเหลว จากอวัยวะ หรือ ชิ้นเนื้อ 2. Indirect method - ได้แก่การตรวจทางด้าน immunology
การรักษา ( Treatment ) ยาที่ใช้ ได้แก่ Metronidazole Diiodohydroxyquin Chloroquine
การควบคุมและป้องกัน ( Control and Prevention ) 1. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ดีขึ้น 2. กรองหรือต้มน้ำก่อนใช้ดื่ม 3. ป้องกันการปนเปื้อนอาหาร 4. จัดการสุขาภิบาลให้ดี
Acanthamoeba sp. - โดยปกติเป็นพวก Free-living แต่ สามารถเป็นปรสิตได้ จึงจัดเป็นพวก Facultative Parasite
การแพร่กระจาย พบได้ทั่วไป ในดิน ในน้ำ ( ทั้งน้ำจืดและน้ำเค็ม ) น้ำประปา น้ำแร่ น้ำโสโครก และสามารถพบใน อากาศด้วย
รูปร่าง มี 2 ระยะ คือ 1. Trophozoite มีรูปร่างแบบอะมีบา ขนาด 10-25 um เคลื่อนไหวช้า ขาเทียมมีลักษณะเป็น หนามสั้นๆ
2. Cyst ขนาด 10-20 um มี nucleus 1 อัน ผนัง 2 ชั้น ( ผนังสามารถหดตัวทำให้ cyst มีรูปร่างแตกต่างกันไป ) cyst ทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี
Mode of infection ปรสิตสามารถผ่านเข้าทาง nasopharynx ( ส่วนของคอหอยที่อยู่เหนือระดับของ เพดานปาก ) เข้าทางลูกตา ทางแผลที่ ผิวหนัง ทางจมูกโดยการหายใจ หรือ เข้าทางอวัยวะสืบพันธุ์
การเกิดโรค เข้าสมองก่อให้เกิดโรคสมองอักเสบชนิดเรื้อรังหรือเฉียบพลัน เรียกว่า Granulomatous amoebic encephalitis (GAE) เข้าตาเกิดโรคกระจกตาอักเสบ ( Acanthamoebic keratitis ) เกิดอาการปอดอักเสบ ( Pneumonitis ) ผิวหนังอักเสบกึ่งเฉียบพลัน ( Subacute granulomatous dermatitis )
อาการและพยาธิสภาพของโรคอาการและพยาธิสภาพของโรค ระยะฟักตัวของโรคจะนาน เนื่องจากปรสิต เคลื่อนไหวช้า การเจริญเติบโตเป็นไปอย่างช้าๆ อาการของ GAE เป็นแบบเดียวกับโรคที่เนื้อ สมองตาย มีไข้เป็นระยะ มักเป็นไข้ต่ำๆ ส่วนกระจกตาอักเสบอาจทำให้ตาบอดได้
การวินิจฉัยโรค ( Diagnosis ) สามารถตรวจหาอะมีบาได้จากน้ำไขสันหลัง โดยตรวจหา Trophozoite และสามารถนำเชื้อไปเพาะเลี้ยงเพื่อยืนยัน ชนิดของปรสิตได้ ( สามารถตรวจพบทั้ง trophozoite และ cyst ) ( Chang, 1971 )
การรักษา ( Treatment ) ยังไม่มีรายงานการรักษาที่แน่นอน มีรายงานการรักษาด้วยยาบางชนิด แต่แพทย์ ก็ยังไม่สรุปผลการรักษาว่าน่าพอใจ ทั้งนี้อาจ ขึ้นอยู่กับระยะของโรค ความรุนแรงของเชื้อ และความทนทานของเชื้อด้วย การป้องกันโรค การป้องกันทำได้ค่อนข้างยาก
Trophozoite รอยแผลในกระเพาะอาหาร
Naegleria fowleri - เป็นพวก Pathogenic free-living amoebae เช่นเดียวกับ Acanthamoeba - สามารถพบได้ในน้ำซึ่งมีอุณหภูมิถึง 45 oC พบได้ทั่วไปในแหล่งน้ำต่างๆ เช่น น้ำบ่อ อ่างเก็บน้ำ และแม้แต่ในสระว่ายน้ำ
รูปร่าง ( Morphology ) เป็นพวกอะมีบาที่มีรูปร่างพิเศษ คือ มีรูปร่าง เป็นแบบ 1. Amoeboid stage มีทั้งระยะ Trophozoite และ Cyst - Trophozoite ขนาด 7 - 20 um
2. Flagellate stage ระยะต่างๆนี้สามารถเปลี่ยนกลับไปกลับมาได้ โดยเมื่อสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมปรสิตจะเปลี่ยนไปอยู่ในระยะแฟกเจลเลต
Mode of infection ระยะติดต่อคือ ระยะ Flagellate ติดต่อโดยปรสิตจะผ่านเข้าไปทางจมูก โดยการสำลักเอาเชื้อเข้าสู่ Nasal cavity แล้วผ่านไปยัง Olfactory nerves