280 likes | 716 Views
การอ่านค่าพิกัดบนแผนที่ 1:50,000 และนำมาใช้กับงานสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS). ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. การอ่านค่าพิกัดบนแผนที่ 1:50,000. ทิศทางในแนวดิ่ง : คือค่า N. ทิศทางในแนวราบ : คือค่า E. การอ่านค่าพิกัดบนแผนที่ 1:50,000.
E N D
การอ่านค่าพิกัดบนแผนที่ 1:50,000และนำมาใช้กับงานสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การอ่านค่าพิกัดบนแผนที่ 1:50,000 ทิศทางในแนวดิ่ง :คือค่าN ทิศทางในแนวราบ :คือค่าE
การอ่านค่าพิกัดบนแผนที่ 1:50,000 ก่อนทำการหาค่าพิกัด ณ.ตำแหน่งใดๆ ต้องทำการแบ่งแต่ละจัตุรัสออกเป็น 10 ช่อง เท่าๆกัน ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ ทิศทางในแนวดิ่ง :คือค่าN ทิศทางในแนวราบ :คือค่าE
การอ่านค่าพิกัดบนแผนที่ 1:50,000 ทิศทางในแนวดิ่ง :คือค่าN ตัวอย่าง : ต้องการหาค่าพิกัดที่จุดในรูป ทิศทางในแนวราบ :คือค่าE
การอ่านค่าพิกัดบนแผนที่ 1:50,000 ตำแหน่งพิกัดที่ต้องการทราบในแนวราบ ( E )อยู่ระหว่าง 38 กับ 39 ตำแหน่งพิกัดที่ต้องการทราบในแนวดิ่ง ( N )อยู่ระหว่าง 63 กับ 64 ทิศทางในแนวดิ่ง :คือค่าN นับช่องที่แบ่งในจัตุรัสไว้แล้วจากซ้าย ไปขวาได้ 2 ช่อง นับช่องที่แบ่งในจัตุรัสไว้แล้วจากล่าง ขึ้นบนไ ด้ 8 ช่อง ดังนั้นN = 63 800 ดังนั้นE = 38 200 ทิศทางในแนวราบ :คือค่าE
ตัวอย่าง จากตำแหน่งที่ตั้งรร.บ้านตาลสุวรรณในแผนที่ 1:50,000 ต้องการหาพิกัดโรงเรียนบ้านตาลสุวรรณ ค่า E และ N ที่อ่านได้ ยังนำไปใช้กับระบบ GIS ไม่ได้ E = 40 100 N = 64 400 ต้องเพิ่มค่าพิกัดกริดบนแผนที่ให้สมบูรณ์ก่อน
วิธิการเพิ่มค่าพิกัดกริดบนแผนที่ให้สมบูรณ์วิธิการเพิ่มค่าพิกัดกริดบนแผนที่ให้สมบูรณ์ ค่าพิกัดที่อ่านได้แนวดิ่ง N= 64 400 ดังนั้นค่าพิกัดกริดที่อ่านได้จริงในแนวดิ่งN= 18 64 400นั่นคือN= 1864400 ค่าพิกัดกริดบนแผนที่แต่ละแผ่นจะมีหมายเลขกำกับ ในที่นี้คือ 18
วิธิการเพิ่มค่าพิกัดกริดบนแผนที่ให้สมบูรณ์(ต่อ)วิธิการเพิ่มค่าพิกัดกริดบนแผนที่ให้สมบูรณ์(ต่อ) ค่าพิกัดที่อ่านได้แนวราบE = 40 100 ค่าพิกัดกริดบนแผนที่แต่ละแผ่นจะมีหมายเลขกำกับ ในที่นี้คือ 6 ดังนั้นค่าพิกัดกริดที่อ่านได้จริงในแนวราบE = 6 40 100นั่นคือE = 640100
ตัวอย่าง ดังนั้น จากตำแหน่งที่ตั้ง รร.บ้านตาลสุวรรณในแผนที่ 1:50,000 ค่าพิกัดกริก ที่สามารถนำไปใช้กับระบบ GIS E = 6 40 100 N = 18 64 400
การนำค่าพิกัดกริดบนแผนที่ ที่อ่านได้มาใช้กับงานสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ตำแหน่งที่ตั้ง รร.บ้านตาลสุวรรณอ.เมือง จ.พิษณุโลกE = 640100 N = 1864400
การนำค่าพิกัดกริดบนแผนที่ ที่อ่านได้มาใช้กับงานสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ตำแหน่งที่ตั้ง รร.บ้านตาลสุวรรณอ.เมือง จ.พิษณุโลกE = 640100 N = 1864400
การนำค่าพิกัดกริดบนแผนที่มาใช้กับงานสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ข้อควรระวัง ในกรณีที่นำแผนที่มาตราส่วน 1:50,000 มาใช้ในการอ่านค่าพิกัด หากรายละเอียดของแผนที่ ระบุ “กริด.....1,000 ม. UTM เขต 47” สามารถนำค่าพิกัดที่อ่านได้จริงไปใช้กับงานสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ได้เลย
การนำค่าพิกัดกริดบนแผนที่มาใช้กับงานสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) หากแผนที่มาตราส่วน 1:50,000 ที่มานำใช้ในการอ่านค่าพิกัด ปรากฏรายละเอียดของแผนที่ ระบุ “กริด 1,000 ม. UTM เขต 48” ให้ทำการแปลงค่าพิกัดที่อ่านได้จริง เป็นพิกัด UTM เขต 47 ก่อนนำไปใช้กับงานสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS)
การแปลงค่าพิกัดกริด ที่อ่านได้จากแผนที่ 1:50,000เขต(โซน) 48 เป็น เขต(โซน) 47 ตัวอย่าง : แผนที่ 1:50,000 อ.เชียงยืนจ.มหาสารคาม กริด....1,000 เมตร UTM เขต 48
การแปลงค่าพิกัดกริด ที่อ่านได้จากแผนที่ 1:50,000เขต(โซน) 48 เป็น เขต(โซน) 47 ตัวอย่าง : หาค่าพิกัดกริดที่ตั้งอำเภอเชียงยืนจากแผนที่ 1:50,000 ค่าพิกัดที่อ่านได้โดยประมาณN = 18 14 700 E = 2 98 000
จากนั้น นำข้อมูลพิกัดกริด N และ E ไปสร้างตารางบนโปรแกรม MS Excelโดยให้ X แทนค่าพิกัดกริด E และ Y แทนค่าพิกัดกริด N เมื่อสร้างตารางแล้วเสร็จให้ทำการบันทึกข้อมูล ซึ่งวิธีการบันทึกข้อมูล มี 2 ประเภท คือ 1. บันทึกข้อมูล โดยเลือกประเภทข้อมูลที่จะบันทึกเป็น Text (Tab delimited) ข้อควรระวัง : ก่อนบันทึกข้อมูล ต้องให้ ตัวชี้กรอบสี่เหลี่ยมอยู่ภายในขอบเขตข้อมูลที่มีตัวเลขด้วย 2. บันทึกข้อมูล โดยเลือกประเภทข้อมูลที่จะบันทึกเป็น DBF4 (dBASE IV)
นำข้อมูลจากตาราง เปิดการทำงานกับโปรแกรม ArcView GIS 3.X จะเห็นว่าตำแหน่งที่ตั้งของข้อมูลที่อ่านได้จากแผนที่ ไม่สอดคล้องกับฐานข้อมูลจังหวัดมหาสารคาม จะต้องทำการแปลงเขต(โซน)ให้สอดคล้องกันจากเขต(โซน)48 ในแผนที่ เป็นเขต(โซน)47
วิธีการแปลงข้อมูลจากตารางที่อ่านบนแผนที่จากเขต(โซน)48 เป็น เขต(โซน) 47 ในโปรแกรม ArcView GIS 3.X เมื่อดำเนินการแล้ว จะเห็น Icon บน Toolbarปรากฏ Icon ชื่อ Change Projection จากเมนู File เลือก Extensionsทำเครื่องหมายถูก ที่ Extensions ชื่อ Projector! หมายเหตุ : หากในโปรแกรมของท่านไม่ปรากฏ Extensionsชื่อ Projector! กรุณาติดต่อศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศด้วย คลิก OK
วิธีการแปลงข้อมูลจากตารางที่อ่านบนแผนที่จากเขต(โซน)48 เป็น เขต(โซน) 47 จากนั้นที่เมนู View เลือก Properties.. คลิก Theme ที่ต้องการแปลงข้อมูล ให้พร้อม ทำงาน(นูนขึ้น) เปลี่ยนค่า Map Units และ Distance Units เป็น meters
วิธีการแปลงข้อมูลจากตารางที่อ่านบนแผนที่จากเขต(โซน)48 เป็น เขต(โซน) 47 ที่ Tool Barคลิก Icon Change Projection ที่ Category เลือก : UTM – 1983ที่ Type เลือก : Zone 48คลิก OK คลิก OK
วิธีการแปลงข้อมูลจากตารางที่อ่านบนแผนที่จากเขต(โซน)48 เป็น เขต(โซน) 47 หน่วยเป็น meters คลิก OK ที่ Category เลือก : UTM – 1983ที่ Type เลือก : Zone 47คลิก OK
วิธีการแปลงข้อมูลจากตารางที่อ่านบนแผนที่จากเขต(โซน)48 เป็น เขต(โซน) 47 คลิก Yes คลิก OK คลิก Yes เลือก Folder ที่ต้องการเก็บข้อมูลกำหนดชื่อ File คลิก OK
วิธีการแปลงข้อมูลจากตารางที่อ่านบนแผนที่จากเขต(โซน)48 เป็น เขต(โซน) 47 จากนั้นดำเนินการจัดชั้นการซ้อนทับข้อมูลใหม่จะเห็นตำแหน่งที่ตั้ง อ.เชียงยืน ที่อ่านได้จากแผนที่ และแปลงจากเขต 48 เป็นเขต 47 แล้ว ปรากฏบนบริเวณข้อมูล อ.เชียงยืน เมื่อดำเนินการแล้ว จะปรากฏ Theme ใหม่ขึ้น ชื่อ Theme จะเป็นไปตามที่บันทึกไว้
เมื่อดำเนินการตามขั้นตอนต่างๆ แล้วเสร็จ ตรวจสอบข้อมูลที่ทำการอ่านจากพิกัดกริดแผนที่ 1:50,000กับชั้นข้อมูล GIS ปรากฏว่าตำแหน่งที่ตั้งอำเภอเชียงยืนใกล้เคียงกัน หากดำเนินการตามขั้นตอนทุกอย่างแล้ว ปรากฏว่าข้อมูลยังไม่ถูกต้องหรือคลาดเคลื่อน กรุณาตรวจทานการอ่านค่าพิกัดใหม่ด้วย
ขอได้รับความขอบคุณ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 02-2430020 ต่อ 1307 1308 1309 1313