1 / 28

Thanin Pa- em Deputy Secretary- General,NESDB

Thailand. Escape from Middle-Income Trap. Thanin Pa- em Deputy Secretary- General,NESDB Regional Forum: Journey to and from Middle Income Status The Challenges for Public Sector Managers Asia-Pacific Finance and Development Center 22-25 April 2014, Shanghai,PRC. Outline.

patia
Download Presentation

Thanin Pa- em Deputy Secretary- General,NESDB

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Thailand Escape from Middle-Income Trap Thanin Pa-em Deputy Secretary-General,NESDB Regional Forum: Journey to and from Middle Income StatusThe Challenges for Public Sector Managers Asia-Pacific Finance and Development Center 22-25 April 2014, Shanghai,PRC

  2. Outline • The 11th National Plan: Competitiveness Development Framework • Thailand: An Upper Middle Income Country • Challenges • Thailand’s New Growth Model • Development pathway

  3. The 11th National Plan Creation of Quality Human capital andSociety • Creation of Justice in Society (Strategy 1) • Creation of Learning Society (Strategy 2) Economic Restructuring 11thPlan • Strengthening of Agriculture sector and food & energy security (Strategy 3) • Restructuring of the economy towards quality growth and sustainability (Strategy 4) • Regional Connectivity (Strategy 5) Management of Natural Resources • Preparation for effects of Climate Change and Transfer to low-carbon & environmentally friendly society (Strategy 6) Good Governanceand implementation of 11th Plan

  4. Development Framework Government efficiency (Corruption) Laws &Regulations Low R&D Infrastructure Macro Foundation

  5. Thailand status : An Upper Middle Income Country Upper middle income nation has high portion of service sector. While middle-income country principally rely on manufacturing sector. Thailand is restructuring our economy from manufacturing based economy to service based economy by investing in R&D, hard and soft infrastructure (ICT and rail), innovation and creativity. Panama United States United Kingdom GNI per Capita and Share of Services Singapore Brazil Turkey Namibia Ukraine India Chile Morocco Norway Bangladesh Colombia Philippines Zimbabwe Pakistan Thailand Malaysia Nepal Indonesia China Vietnam Source: NESDB Source: World Bank

  6. Journey from and to MIT • with GDP growth 5.0 – 6.0% Thailand will reach high-income status in 15 – 18 years • Situation • 2554 GDP per capita= 5,117 US Dollars • 2554 GNI per capita (Atlas Method) = 4,420 US Dollars • Thailand is an upper middle-income country Goal GNI per capita= 12,000 US Dollars(Atlas Method) In 15 - 18 years

  7. Challenges Government efficiency (Corruption) • Corruption Perception index ranks Thailand 102th worse than performance of Malaysia (53) and Philippines (94) • Political instabilityeffects trade and investment and country image Laws &Regulations • Ease of doing business i.e. Start up days takes 29 days, inefficient competition law, and degree offoreign investor rights • IMD (2013) ranks Scientific infrastructure of Thailand at 40th • Limited financial resource to promote R&D, technology and innovation development, and deficient in laws& regulations to facilitate R&D investment of private sector • Limited utilisation of research findings Low R&D Infrastructure • IMD (2013) ranks Thailand education at 51st Quality of education needs to be developed • Sluggish development in ICT and Infrastructure

  8. Development Path 1. Growth and Competitiveness Thailand’s Strategy The Country’s New Growth Model Towards greater per capita income Infrastructure / Productivity/ Research & Development Human Capital/ Quality of Life/ Knowledge/ Fairness Towards Balanced and improved Public Sector Management 4. Internal Process Towards environmental friendly • Towards Inequality • Reduction Legal Framework 3. GreenGrowth 2.Inclusive Growth 8

  9. Reform Market Mechanism • Political Reform • Politicians • Leadership • Public Reform • Competency • Law & Regulation • Law enforcement Market Mechanism Market Mechanism Good Governance / Accountability • Balancing Power / Empowerment in all areas (People/Community/Academics/NGOs) • People’s Participation • Information Flow • Watchdogs ANTI CORRUPTION

  10. Thank you

  11. Back up

  12. Outline • Country situation • Challenges(Income disparity/ Political instability/Corruption/ASEAN Integration) • Direction in 10 years - (Plan 11 + National Strategy + Plan 12) • Key actions - Reform politics and governance - Counter corruption - Reform economic system in order to overcome middle income trap (hard ICT and soft infrastructure, improve IP law enforcement, increase labour market efficiency and stimulate private investment) - Accelerate law and regulation reform to improve trade and fair competition in ASEAN and GMS (+ทวาย)

  13. The 11th National Plan Framework Sufficiency Economy as Guiding Principle 2. People at Center, with Participation as Priority 3. Comprehensive and Coordinated Development Vision “Happy and harmonious society through equitability, justice, and resilience towards changes” Objectives • To promote a happy and harmonious society under good governance. • To prepare communities and society for changes and to be able to adjust ways of life accordingly. • To ensure economic, social and political security, and to protect natural resources and the environment to ensure sustainable development.

  14. Thailand: An Upper Middle Income Country Pre-Industrialization Initial FDI Absorption Internalizingparts & Components Internalizing Skills and Technology InternalizingInnovation Technologyabsorption Creativity Level 5 มีศักยภาพสูงในระดับชั้นนำของโลกด้านนวัตกรรมและการออกแบบผลิตภัณฑ์ Agglomeration Level 4 มีความเชี่ยวชาญในเทคโนโลยีการบริหารจัดการ และสามารถผลิตสินค้าคุณภาพสูงได้ Arrival of Manufacturing FDI Level 3 มีการพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุน (Supporting Industry) แต่ยังอยู่ภายใต้การนำของต่างชาติ Level 2 อุตสาหกรรมขั้นต้นภายใต้การนำของต่างชาติ Japan U.S. GermanyFrance Level 1  สังคมเกษตรกรรมและการพึ่งพาความช่วยเหลือจากต่างประเทศ South KoreaTaiwan Malaysia Thailand Vietnam เป็นข้อจำกัดของประเทศ ASEAN(Middle income trap) Low-Income Middle-Income High-Income

  15. ผลการจัดอันดับ Doing Business ที่มา: DOING BUSINESS 2014

  16. สถานภาพขีดความสามารถในการแข่งขันและความยาก-ง่ายในการประกอบธุรกิจของไทย ปี 2003-2014 (2546 – 2557) ที่มา : รายงาน Doing Business (EoDB) โดย ธนาคารโลก, Global Competitiveness Report โดย World Economic Forum และ World Competitiveness Yearbook โดย IMD หมายเหตุ: ข้อมูล EoDBเริ่มนำมาวิเคราะห์ตั้งแต่ ปี 2548 • ไทยมีระดับความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ระดับปานกลาง (Middle Income Tier) • ช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา อันดับความสามารถในการแข่งขันของไทยอยู่ใน ระดับทรงตัวหรือมีทิศทางปรับตัวลดลง • ในอาเซียน ไทยอยู่ในอันดับ 3 รองจาก สิงคโปร์ มาเลเซีย แต่นำหน้า อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ • EoDBจัดไทยอยู่ในอันดับที่ 18 จาก 185 ประเทศ และเป็นอันดับ 3 ในอาเซียน รองจากสิงคโปร์ และมาเลเซีย

  17. ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2006-2013 (2549-2556) โดย IMD ที่มา : World Competitiveness Yearbook โดย IMD 2006-2013

  18. ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย โดย WEF • ไทยอยู่อันดับที่ 37ดีขึ้นจากอันดับที่ 38 ที่มา : Global Competitiveness Report 2013-2014โดย World Economic Forum โดย WEF

  19. สถานภาพขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยเมื่อเทียบกับอาเซียนปี 2556 WEFจัดให้ไทยด้อยกว่า สิงคโปร์และมาเลเซียโดยไทยดีกว่าฟิลิปปินส์ กัมพูชา เวียดนามในทุกด้าน และได้เปรียบอินโดนีเซียเกือบทุกด้าน ยกเว้นด้านขนาดตลาดและนวัตกรรม แต่ไทยได้เปรียบมาเลเซียเฉพาะด้านขนาดตลาดและตลาดแรงงาน • IMDจัดให้ไทยด้อยกว่า สิงคโปร์และมาเลเซีย เช่นกัน แต่สมรรถนะทางเศรษฐกิจของไทยในช่วงปีที่ผ่านมาดีกว่ามาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย • ในขณะที่ เมื่อเทียบกับมาเลเซีย ไทยด้อยกว่ามากในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านโครงสร้างพื้นฐาน 19 19

  20. สถานภาพขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยเมื่อเทียบกับอาเซียนปี 2556 (ต่อ) 9 สมรรถนะทางเศรษฐกิจ Overall ปัจจัยด้านสภาพเศรษฐกิจภายในประเทศ (Domestic Economy) มีส่วนสำคัญที่ทำให้อันดับรวมของไทยดีขึ้นจากอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศภายหลังสถานการณ์น้ำท่วม แต่ไทยยังมีอันดับต่ำกว่าสิงคโปร์และมาเลเซียค่อนข้างมาก โดยเฉพาะด้านการลงทุนระหว่างประเทศ อย่างไรก็ดี ไทยสามารถรักษาระดับการจ้างงานได้ดีกว่ามาเลเซีย 20

  21. สถานภาพขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยเมื่อเทียบกับอาเซียนปี 2556 (ต่อ) 22 ประสิทธิภาพของภาครัฐ Overall • อันดับรวมของไทยดีขึ้นจากอันดับที่ 26 ในปี 2555 เนื่องจาก ปัจจัยย่อยด้านนโยบายการคลัง กรอบการบริหารด้านสถาบัน (Institutional Framework) ดีขึ้น แต่ไทยยังด้อยด้านกฎหมายด้านธุรกิจ และกรอบดำเนินการด้านสังคม และยังตามหลังสิงคโปร์และมาเลเซียในด้านกรอบการดำเนินการด้านสถาบัน ซึ่งสิงคโปร์มีจุดเด่นด้านอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงในระยะสั้น การตัดสินใจของภาครัฐ และประสิทธิภาพของระบบราชการ ในขณะที่มาเลเซียมีความคล่องตัวในการปรับเปลี่ยนด้านนโยบาย กฎหมายและระเบียบต่างๆ และต้นทุนของเงินลงทุน ในขณะที่ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ทั้ง 2 ประเทศ มีจุดเด่นด้านความง่ายในการทำธุรกิจ (Ease of Doing Business) ส่วนกรอบดำเนินการด้านสังคม ไทยมีจุดอ่อนด้านความเสี่ยงจากความไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง การกระจายรายได้ บทบาทสตรีในรัฐสภา และความเท่าเทียมระหว่างหญิง – ชาย 21

  22. สถานภาพขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยเมื่อเทียบกับอาเซียนปี 2556 (ต่อ) 18 ประสิทธิภาพของภาคเอกชน Overall ปรับตัวดีขึ้น 5 อันดับจากอันดับที่ 23 ในปี 2555 แต่ประเด็นที่ไทยต้องปรับปรุง คือด้านผลิตภาพและประสิทธิภาพที่ถึงแม้จะปรับตัวดีขึ้นถึง 13 อันดับ จากปีก่อนหน้า แต่ยังคงอยู่ในอันดับค่อนข้างต่ำในขณะที่สิงคโปร์และมาเลเซีย มีจุดเด่นกว่าไทยด้านแนวปฏิบัติด้านการบริหารจัดการและทัศนคติและค่านิยม ซึ่งประเด็นส่วนใหญ่ในสองเรื่องนี้มาจากการสำรวจความคิดเห็น จึงเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความรับรู้ที่นักธุรกิจมีต่อประเทศไทย 22

  23. สถานภาพขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยเมื่อเทียบกับอาเซียนปี 2556 (ต่อ) 48 โครงสร้างพื้นฐาน Overall ปรับตัวดีขึ้นเพียง 1 อันดับจากอันดับที่ 49 ในปี 2555 มาเป็นอันดับที่ 48 ในปัจจุบัน โดยเกือบทุกปัจจัยยังอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต่ำ โดยสิงคโปร์มีจุดเด่นด้านการศึกษาในระดับสูง การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน การดึงดูดนักเรียนต่างชาติ การบริหารจัดการเมือง ในขณะที่มาเลเซียมีจุดเด่นด้านการลงทุนในระบบโทรคมนาคม การส่งออกสินค้า Hi-Tech และมีการลงทุนด้าน R&D สูงกว่าไทย การให้เงินสนับสนุนด้านการวิจัย และการส่งเสริมการร่วมทุนด้าน R&D ระหว่างรัฐและเอกชน และกฎ ระเบียบที่เอื้อต่อการลงทุนพัฒนานวัตกรรม ซึ่งจะเป็นเครื่องมือสำคัญในการยกระดับประเทศไปสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรม 23

  24. เค้าโครงการบรรยาย 24

  25. ความท้าทายในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจความท้าทายในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ • แม้ว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2555 จะขยายตัวสูง เสถียรภาพทางเศรษฐกิจอยู่ในเกณฑ์ดี และโครงสร้างทางเศรษฐกิจมีแนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงไปสู่การผลิตที่มีคุณภาพและยั่งยืนด้วยการเพิ่มผลิตภาพการผลิตและคุณค่าของสินค้าและบริการบนฐานความรู้และสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่องมากขึ้นแต่เศรษฐกิจไทยปี 2556 ยังต้องเผชิญกับความท้าทายจากปัจจัยสำคัญๆ 4 ประการ คือ • ปัจจัยสนับสนุนการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศซึ่งเป็นแรงขับเคลื่อนอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี 2555 มีแนวโน้มที่จะอ่อนแรงลงตามลำดับ โดยเฉพาะแรงขับเคลื่อนจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจระยะสั้นและแรงส่งจากรายจ่ายเพื่อฟื้นฟูบูรณะประเทศในช่วงหลังภาวะอุทกภัย • ภาคการส่งออกยังมีข้อจำกัดในการขยายตัวจากเศรษฐกิจโลกที่ยังอยู่ในช่วงปรับตัวจากภาวะความไม่สมดุลซึ่งส่งผลให้อุปสงค์โดยรวมของตลาดโลกยังมีแนวโน้มที่จะยังอยู่ในช่วงชะลอตัวซึ่งทำให้การแข่งขันในตลาดโลกมีความรุนแรง และการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินสกุลหลัก • แรงกดดันด้านฐานะทางการคลังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตามการดำเนินมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจระยะสั้นและการดำเนินโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ • การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันยังเป็นไปอย่างล่าช้า นอกจากนี้ ต้องจัดทำมาตรการส่งเสริมให้นักลงทุนไทยออกไปลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น รวมทั้งการจัดเตรียมพื้นที่ใหม่และการจัดทำนโยบายส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศที่เพิ่มขึ้น 25

  26. ความท้าทายในการพัฒนาประสิทธิภาพระบบราชการให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของภาพเอกชนความท้าทายในการพัฒนาประสิทธิภาพระบบราชการให้สามารถตอบสนองต่อความต้องการของภาพเอกชน การบริหารการคลัง เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน เนื่องจาก การเก็บภาษีนิติบุคคลจากกำไร ยังไม่เป็นธรรมและเท่าเทียม และยังไม่สามารถจัดการปัญหาการหลีกเลี่ยงภาษีจนก่อให้เกิดอุปสรรคทางการเงินการคลังของรัฐ การเริ่มต้นดำเนินธุรกิจ (Start up days) ไทยใช้จำนวนวันในการเริ่มต้นในการทำธุรกิจนานถึง 29 วัน ในขณะที่ สิงคโปร์ใช้เวลาเพียง 3 วัน ซึ่งไทยต้องเร่งปรับปรุงกระบวนการในการให้บริการให้มีความกระชับมากขึ้น ความโปร่งใส ปัญหาทุจริตคอรัปชั่น ซึ่งส่งผลต่อการดึงดูดการค้าการลงทุน และภาพลักษณ์ของประเทศในภาพรวมด้วย 26

  27. ไทยยังคงเผชิญปัญหาผลิตภาพการผลิตของวัยแรงงานต่ำ และเป็นจุดอ่อนต่อการขยายการผลิตในภาคอุตสาหกรรมและผลิตภาพโดยรวม ในขณะที่ประเทศอื่นๆ มีคุณภาพของกำลังคน ระบบการศึกษามีศักยภาพในการตอบสนองความต้องการของตลาดได้ดีกว่าไทยมาก และไทยยังไม่สามารถแก้ปัญหาความไม่สอดคล้องระหว่างปริมาณการผลิตกับความต้องการกำลังคน รวมทั้ง ปัญหาขาดแคลนแรงงานทั้งคุณภาพและปริมาณ และปัญหาทักษะด้านภาษา ความท้าทายในการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิต ทักษะ และคุณภาพกำลังคนเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด ปัญหาทักษะด้านภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศของไทยยังต่ำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะด้านภาษาอังกฤษต่ำกว่า มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซีย และทักษะภาษาที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการภาคธุรกิจ ก็ยังไม่สามารถแข่งขันกับเขตเศรษฐกิจอื่นๆ ได้ 27

  28. การลงทุนวิจัยและพัฒนายังน้อยมากเมื่อเทียบกับต่างประเทศ เพราะมีแหล่งเงินทุนและเงินกองทุนร่วมเพื่อสนับสนุนการวิจัย พัฒนา เทคโนโลยี และนวัตกรรมน้อย รวมทั้งขาดกฎ ระเบียบที่เอื้อต่อการลงทุนฯ โดยเฉพาะภาคเอกชน ซึ่งสะท้อนจากสัดส่วนการลงทุนด้านวิจัยและพัฒนาต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ภาพรวมของไทยที่ต่ำกว่ากว่าสิงคโปร์และมาเลเซียหลายเท่าตัว ความท้าทายด้านการพัฒนาด้านเทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา • มีการใช้ประโยชน์จากงานวิจัยน้อย เพราะกฎหมายกฎ ระเบียบที่มีอยู่ไม่ชัดเจน และไม่เอื้อต่อการพัฒนาและประยุกต์ใช้งานวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องยังขาดประสิทธิภาพ จึงได้รับการจัดอันดับให้อยู่ในอันดับที่ต่ำกว่าปัจจัยชี้วัดด้านอื่นๆ มาก

More Related