1 / 55

MATERNAL NUTRITION AND BREAST FEEDING

MATERNAL NUTRITION AND BREAST FEEDING. UMAPORN SUTHUTVORAVUT FACULTY OF MEDICINE RAMATHIBODI HOSPITAL. SCOPE. Role of maternal nutrition in breast feeding Dietary Reference Intake (DRI) for pregnant and lactating women Food based dietary guidelines.

perry
Download Presentation

MATERNAL NUTRITION AND BREAST FEEDING

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. MATERNAL NUTRITION AND BREAST FEEDING UMAPORN SUTHUTVORAVUT FACULTY OF MEDICINE RAMATHIBODI HOSPITAL

  2. SCOPE • Role of maternal nutrition in breast feeding • Dietary Reference Intake (DRI) for pregnant and lactating women • Food based dietary guidelines

  3. Pregnancy outcome among countries participating in World Health Organization collaborative study (www.unicef.org.Accessed January 2003)

  4. Genetics Toxicants Diseases Nutrition Fetal Outcome Maternal Health

  5. ความสำคัญของอาหาร มารดาต้องการอาหารเพื่อ • ตัวมารดาเอง เพื่อรักษาสมดุลย์ของร่างกาย ทารกเป็นปาราสิตของมารดา สามารถดึงสารอาหารที่จำเป็นจากมารดา เช่น กลูโคส ธาตุเหล็ก แคลเซียม เป็นต้น และเพื่อสร้างน้ำนมที่เป็นอาหารที่ดีที่สุดของลูก • ทารกในครรภ์ ให้สิ่งจำเป็นสำหรับการเจริญเติบโต และสุขภาพของทารกในครรภ์ ได้แก่ ไม่พิการ ไม่เสียชีวิตในครรภ์ น้ำหนักดี อวัยวะทำงานสมบูรณ์ ทนทานต่อการคลอด ไม่ขาดออกซิเจน

  6. สารอาหารที่แม่ให้แก่ลูกในครรภ์และใช้สร้างนมแม่ ได้มาจาก.... • อาหารของแม่ ( กิน/ ได้รับทางสายยาง หรือหลอดเลือดดำ) • สารอาหารที่สะสมในร่างกายแม่ ถ้าแม่ได้รับอาหารไม่พอ

  7. Changes in nutrient deposition during pregnancy Week of gestation 10 20 30 40 Nutrient metabolism and accretion in mother + fetus Increase in basal 80 170 260 400 metabolism/day (kcal) Fat deposition (g) 328 2064 3594 3825 Protein deposition (g) 36 165 498 925 Iron accretion (mg) - - - 565 Calcium accretion (g) - - - 30 Zinc accretion (mg) - - - 100 Hemoglobin (g/L) 125 117 119 130

  8. น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ • แปรเปลี่ยนตามประชากร • โดยเฉลี่ยเพิ่มประมาณ 10-15 กิโลกรัม • 3 เดือนแรก น้ำหนักอาจจะไม่เพิ่มได้ • หลังจากนั้น เพิ่มประมาณ ครึ่งกิโลกรัม ต่อสัปดาห์

  9. Pregnancy weight gain recommendations Body mass index Recommended weight (kg/m2) category gain (kg) Low (BMI < 19.8) 12.5-18 Normal (BMI 19.8-26.0) 11.5-16 High (BMI > 26.0-29.0) 7-11.5 Obese (BMI > 29.0) >6.0 Food and Nutrition Board, Institute of Medicine 1990.

  10. ปัจจัยที่มีผลต่อน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ปัจจัยที่มีผลต่อน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ • โภชนาการ • การใช้พลังงานของร่างกาย - การทำงาน - การพักผ่อน

  11. Studies reporting an association between the consumption of a poor diet and an increased risk for pregnancy complications Investigator Type of study Ebbs et al., 1941 Intervention Burke et al., 1943 Observational Jeans et al., 1955 Observational Primrose and Higgins, 1971 Intervention Laurence et al., 1983 Intervention Friel et al., 1995 Observational Wright et al., 1995 Observational Torfs et al., 1998 Observational Velie et al., 1999 Observational DiCintio et al., 1999 Observational

  12. Micronutrient deficiencies that have been postulated to contribute to abnormal human prenatal development Vitamin A Copper Vitamin B-6 Iodine Vitamin B-12 Iron Vitamin D Magnesium Vitamin K Zinc Folate Keen CL, et al. J Nutr2003;133:1597s-1605s.

  13. ปริมาณพลังงานและโปรตีนที่ควรได้รับประจำวันปริมาณพลังงานและโปรตีนที่ควรได้รับประจำวัน กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2546

  14. แนวทางกำหนดปริมาณพลังงานที่แม่ที่ให้นมลูกควรบริโภคเพิ่มขึ้นแนวทางกำหนดปริมาณพลังงานที่แม่ที่ให้นมลูกควรบริโภคเพิ่มขึ้น

  15. Dietary Reference Intake (DRI) : ปริมาณวิตามินที่แนะนำสำหรับแต่ละบุคคล กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2546

  16. Folic acid content of selected foods USDA, 1976-1986.

  17. Dietary Reference Intake (DRI) : ปริมาณวิตามินที่แนะนำสำหรับแต่ละบุคคล กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2546

  18. Dietary Reference Intake (DRI) : ปริมาณแร่ธาตุที่แนะนำสำหรับแต่ละบุคคล กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2546

  19. Dietary Reference Intake (DRI) : ปริมาณแร่ธาตุที่แนะนำสำหรับแต่ละบุคคล กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2546

  20. Dietary Reference Intake (DRI) : ปริมาณแร่ธาตุที่แนะนำสำหรับแต่ละบุคคล กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2546

  21. Cochrane LibraryNutritional Supplementation during Pregnancy • Routine iron supplementation • Routine folate supplementation • Maternal iodine supplements in areas of deficiency

  22. ปัจจัยเสี่ยงด้านโภชนาการของแม่ปัจจัยเสี่ยงด้านโภชนาการของแม่ • Underweight • Overweight • Inadequate prenatal weight gain • Rapid postpartum weight loss • Anemia (Hb < 11 g/dl) • Substance abuse: alcohol, cigarettes

  23. Prepregnant overweight and obesity negatively affect breastfeeding • Decreased prolactin response to suckling in the first week postpartum may contribute to early lactation failure. Rasmussen KM, et al. Pediatrics 2004.

  24. ผลของการขาดสารอาหารในแม่ต่อปริมาณในนมแม่ผลของการขาดสารอาหารในแม่ต่อปริมาณในนมแม่ Allen LH. ACC/SCN News 1994; 1:21-4.

  25. ผลของการขาดสารอาหารในแม่ต่อลูกที่เลี้ยงด้วยนมแม่ผลของการขาดสารอาหารในแม่ต่อลูกที่เลี้ยงด้วยนมแม่ Allen LH. ACC/SCN News 1994; 1:21-4.

  26. ผลของการขาดสารอาหารในแม่ต่อปริมาณในนมแม่ผลของการขาดสารอาหารในแม่ต่อปริมาณในนมแม่ Allen LH. ACC/SCN News 1994; 1:21-4.

  27. ผลของการขาดสารอาหารในแม่ต่อลูกที่เลี้ยงด้วยนมแม่ผลของการขาดสารอาหารในแม่ต่อลูกที่เลี้ยงด้วยนมแม่ Allen LH. ACC/SCN News 1994; 1:21-4.

  28. ลักษณะนิสัยการกินของคนไทยบางกลุ่มลักษณะนิสัยการกินของคนไทยบางกลุ่ม • กิน ข้าว แป้ง และน้ำตาล ค่อนข้างมาก • กิน เนื้อ ไข่ ค่อนข้างน้อย • ไม่คุ้นเคยกับการดื่มนม • ไม่ชอบผัก หรือ ผลไม้ • อาหารทอดมีประจำ (ในเมือง)

  29. ธงโภชนาการ ข้าว วันละ 8 – 12 ทัพพี ผัก วันละ 4 – 6 ทัพพี ผลไม้ วันละ 3 – 5 ส่วน นม วันละ 2 – 3 แก้ว เนื้อสัตว์ วันละ 6 – 12 ช้อนโต๊ะ น้ำมัน น้ำตาล เกลือ วันละน้อยๆ

  30. ปริมาณอาหารในและกลุ่มอาหารที่ควรได้รับใน 1 วัน จำแนกตามพลังงานที่ได้รับ กลุ่มอาหาร เด็กอายุ 6-13 ปี หญิงวัยทำงาน วัยรุ่นหญิง-ชาย อายุ 14-25 ปี ที่ควรได้รับ อายุ 25-60 ปี ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ชายวัยทำงานอายุ 25-60 ปี ใน 1 วัน ควรได้รับพลังงานวันละ ควรได้รับพลังงานวันละ 1600 กิโลแคลอรี 2000 กิโลแคลอรี ข้าว – แป้ง 8 ทัพพี 10 ทัพพี ผัก 4 ทัพพี (6 ทัพพี สำหรับผู้ใหญ่) 5 ทัพพี ผลไม้ 3 ส่วน (4 ส่วน สำหรับผู้ใหญ่) 4 ส่วน เนื้อสัตว์ 6 ช้อนโต๊ะ 9 ช้อนโต๊ะ นม 2-3 แก้ว (1-2 แก้วสำหรับผู้ใหญ่) 2-3 แก้ว (1-2 แก้ว สำหรับผู้ใหญ่) ไขมัน น้ำตาล เกลือ ใช้แต่น้อยเท่าที่จำเป็น ใช้แต่น้อยเท่าที่จำเป็น กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรงสาธารณสุข

  31. ตัวอย่างอาหารที่ควรเพิ่มใน1วันสำหรับแม่ที่ให้นมลูก(ประมาณ 500 กิโลแคลอรี โปรตีน12-15กรัม) นม 1 แก้ว ข้าวสวย 2 ทัพพี เนื้อสัตว์สุก 1 ช้อนโต๊ะ และผลไม้ 1 ส่วน หรือ นม 1 แก้ว และก๋วยเตี๋ยวน้ำ 1 ชาม

  32. หมวดที่ 1 : หมวดข้าว แป้ง และผลิตภัณฑ์ 1 ส่วน ให้โปรตีน 2 กรัม คาร์โบไฮเดรต 20 กรัม ไขมันเล็กน้อย พลังงาน 90 กิโลแคลอรี ข้าวสวย 1/2 ถ้วยตวง หรือ 1 ทัพพี มักกะโรนีสุก 4/5 ถ้วยตวง ขนมปังปอนด์ 1 แผ่น เส้นหมี่สุก 1 ถ้วยตวง ขนมจีน 1 1/2 จับ บะหมี่ 1 ก้อน

  33. หมวดที่ 2 : หมวดเนื้อสัตว์ 1 ส่วน ให้โปรตีน 7 กรัม ไขมัน 5 กรัม พลังงาน 75 กิโลแคลอรี เนื้อสัตว์ทุกชนิด 2 ช้อนโต๊ะ ปลาทูขนาดกลาง 1 ตัว ลูกชิ้นไก่หรือปลา 5 ลูก ไข่ 1 ฟอง กุ้งขนาดกลาง 3 ตัว เต้าหู้อ่อน 3/4 หลอด

  34. หมวดที่ 3 : หมวดนม (3.1) นมไขมันเต็มส่วน 1 ส่วน ให้โปรตีน 8 กรัม ไขมัน 8 กรัม คาร์โบไฮเดรต 12 กรัม พลังงาน 150 กิโลแคลอรี นมสดธรรมดา 1 ถ้วยตวง หรือ 1 กล่อง นมผงครบส่วน 5 ช้อนโต๊ะ โยเกิร์ต (ไม่ปรุงแต่งรส) ไขมันเต็มส่วน 1 ถ้วยตวง

  35. หมวดที่ 3 : หมวดนม (3.2) นมพร่องมันเนย 1 ส่วน ให้โปรตีน 8 กรัม ไขมัน 5 กรัม คาร์โบไฮเดรต 12 กรัม พลังงาน 120 กิโลแคลอรี นมสดพร่องมันเนย 1 ถ้วยตวงหรือ 1 กล่อง โยเกิร์ต (ไม่ปรุงแต่งรส) พร่องไขมัน 1 ถ้วยตวง

  36. หมวดที่ 4 : หมวดผลไม้ 1 ส่วน ให้คาร์โบไฮเดรต 15 กรัม พลังงาน 60 กิโลแคลอรี กล้วยน้ำว้า 1 ผลเล็ก ฝรั่ง 1/2 ผลกลาง แอปเปิ้ล 1 ผลเล็ก ชมพู่เขียว 4 ผล ส้มเขียวหวาน 2 ผลกลาง

  37. ตัวอย่างอาหารทั่วไปที่มีปริมาณแคลเซียมมากกว่า 200 มิลลิกรัมต่อปริมาณอาหารที่บริโภค ชนิดอาหาร ปริมาณอาหารที่บริโภค ปริมาณ น้ำหนัก แคลเซียม (กรัม) (มก.) นมและผลิตภัณฑ์นม นมสด รสจืด 1 กล่อง 200 มล. 226 นมสด รสต่างๆ ยกเว้นรสจืด 1 กล่อง 200 มล. 228 นมสด พร่องมันเนย 1 กล่อง 200 มล. 246 โยเกิร์ต สูตรนม (รสธรรมชาติ) 1 ถ้วย 150 240

  38. ตัวอย่างอาหารทั่วไปที่มีปริมาณแคลเซียมมากกว่า 200 มิลลิกรัมต่อปริมาณอาหารที่บริโภค ชนิดอาหาร ปริมาณอาหารที่บริโภค ปริมาณ น้ำหนัก แคลเซียม (ช้อนโต๊ะ) (กรัม) (มก.) ปลา ปลาแก้วแห้ง ทอด 2 10 292 ปลาขาวแห้ง 2 10 472 ปลาซิวแห้ง ทอด 2 10 426 ปลาซาดีนกระป๋องในน้ำ 4 52 274 (รวมเนื้อและกระดูกปลา)

  39. ตัวอย่างอาหารทั่วไปที่มีปริมาณแคลเซียมระหว่าง 100-200 มิลลิกรัมต่อปริมาณอาหารที่บริโภค ชนิดอาหาร ปริมาณอาหารที่บริโภค ปริมาณ น้ำหนัก แคลเซียม (กรัม) (มก.) สัตว์น้ำอื่นๆ กุ้งฝอย (ดิบ) 1 ช้อนโต๊ะ 10 134 กุ้งแห้ง 1 ช้อนโต๊ะ 6 138 ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง เต้าหู้ขาวอ่อน 1/3 ถ้วยตวง (5 ช้อนโต๊ะ) 60 150

  40. เปรียบเทียบปริมาณแคลเซียมระหว่างนมสดกับผลิตภัณฑ์นมที่บริโภคเปรียบเทียบปริมาณแคลเซียมระหว่างนมสดกับผลิตภัณฑ์นมที่บริโภค กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรงสาธารณสุข

  41. เปรียบเทียบปริมาณแคลเซียมระหว่างนมสดกับผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองที่บริโภคเปรียบเทียบปริมาณแคลเซียมระหว่างนมสดกับผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองที่บริโภค กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรงสาธารณสุข

  42. น้ำเต้าหู้หรือนมถั่วเหลืองที่ไม่ได้เสริมแคลเซียมไม่ใช่แหล่งอาหารที่ดีของแคลเซียมน้ำเต้าหู้หรือนมถั่วเหลืองที่ไม่ได้เสริมแคลเซียมไม่ใช่แหล่งอาหารที่ดีของแคลเซียม

  43. เปรียบเทียบปริมาณแคลเซียมระหว่างนมสดกับนมถั่วเหลืองที่บริโภคเปรียบเทียบปริมาณแคลเซียมระหว่างนมสดกับนมถั่วเหลืองที่บริโภค กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรงสาธารณสุข

  44. แม่ควรงดอาหารบางอย่างเพื่อป้องกันโรคภูมิแพ้ในลูกหรือไม่ ? Cochrane Database Systematic Review (2003; 4: CD000133) มีข้อสรุปดังนี้ • Prescription of an antigen avoidance diet to a high-risk woman during pregnancy is UNLIKELY to reduce substantially her child’s risk of atopic diseases. • Such a diet MAY ADVERSELY affect maternal and/or fetal nutrition

  45. แม่ควรงดอาหารบางอย่างเพื่อป้องกันโรคภูมิแพ้ในลูกหรือไม่ ? Cochrane Database Systematic Review (2003; 4: CD000133) มีข้อสรุปดังนี้ • Prescription of an antigen avoidance diet to a high-risk woman during lactation may reduce her child’s risk of developing atopic eczema and may reduce severity of the eczema BUT BETTER TRIALS ARE NEEDED.

  46. คำแนะนำการให้อาหารแก่ทารกกลุ่มเสี่ยงต่อโรคภูมิแพ้คำแนะนำการให้อาหารแก่ทารกกลุ่มเสี่ยงต่อโรคภูมิแพ้

  47. DHA ( Docosahexaenoic acid) • Important component of structural lipid of brain and retina • DHA supplementation of breast-feeding mothers increases DHA in breast milk and infant plasma phospholipid. Jensen CL, et al. AJCN 2000; 71:292S.

More Related