320 likes | 505 Views
ผลงานนักวิจัยไทยในฐานข้อมูล Science Citation Index ( SCI). ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ หัวหน้ากลุ่มวิจัย P olymer PRO cessing and F low (P-PROF) www.kmutt.ac.th/p-prof มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) 22 กรกฎาคม 2547 ณ สวทช. King Mongkut’s University of Technology Thonburi (KMUTT)
E N D
ผลงานนักวิจัยไทยในฐานข้อมูลScience Citation Index (SCI) ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ หัวหน้ากลุ่มวิจัยPolymerPROcessingandFlow (P-PROF)www.kmutt.ac.th/p-prof มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) 22 กรกฎาคม 2547 ณ สวทช. King Mongkut’s University of Technology Thonburi (KMUTT) 91 Pracha U-tit Rd., Bangmod, Thuug-khru, Bangkok 10140, THAILAND
ขอบเขตการนำเสนอ • บทนำ • วัตถุประสงค์ • ขอบเขตและวิธีการวิจัย • ผลการวิจัย • จำนวนผลงานตีพิมพ์ (Number of publications) • จำนวนครั้งที่ถูกอ้างอิง (Times cited) • จำนวนความร่วมมือกับต่างประเทศ (Collaborations) • บทสรุป • สถานภาพ/ปัญหา (บางส่วน) ของการเผย • แพร่ผลงานระดับนานาชาติ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยวัตถุประสงค์ของงานวิจัย • เพื่อจัดทำโปรแกรมบันทึกและแสดงข้อมูลผลงานตีพิมพ์ทางด้านวิทยาศาสตร์ • และเทคโนโลยีของนักวิจัยภายในประเทศ ที่ปรากฏอยู่ในฐานข้อมูล SCI • ระหว่างปี ค.ศ. 1995-2002 • เพื่อวิเคราะห์สถานภาพและแนวโน้มของผลงานตีพิมพ์ทางด้าน • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยในฐานข้อมูล SCI • ระหว่างปีค.ศ. 1995-2002 • เพื่อวิเคราะห์คุณภาพของผลงานตีพิมพ์ และประเมินความเข้มแข็งทางด้าน • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศไทยในสาขาวิชาต่างๆ • เพื่อให้ทราบถึงผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • ของประเทศไทยที่มีผลงานวิจัยปรากฏในฐานข้อมูล SCI • เพื่อวิเคราะห์ถึงความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย • กับประเทศต่างๆ ที่ปรากฏในฐานข้อมูล SCI
ISI Citation Databases • Science Citation Index ---> 5,876 science and technical journals • Social Science Citation Index--->1,700 journals • Arts and Humanities Citation Index--->1,130 journals
ขอบเขตและวิธีการวิจัยขอบเขตและวิธีการวิจัย • สืบค้นบทความวิจัยที่เขียนโดยนักวิจัยไทยและตีพิมพ์ผลงานลงในวารสารวิชาการ • นานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูล Science Citation Index (SCI) ระหว่างปี • 1995-2002 • ช่วงการสืบค้น ณ วันที่ 6 กันยายน 2546 • กำหนดสาขาวิชาของแต่ละบทความ ตามชื่อวารสาร โดยแบ่งสาขาวิชาออกเป็น • 3 ระดับตาม ISI Essential Science Indicators และ Science Citation Index • Expanded 2002 • สาขาวิชาหลัก จำนวน 22 สาขา • สาขาวิชารอง จำนวน 127 สาขา • สาขาวิชาย่อย จำนวน 58 สาขา
ขอบเขตและวิธีการวิจัย(ต่อ)ขอบเขตและวิธีการวิจัย(ต่อ) • บันทึกบทความซึ่งแยกตามปีที่พิมพ์ จำนวนครั้งที่ถูกอ้างอิง • สาขาวิชา ชื่อนักวิจัย หน่วยงานต้นสังกัด และประเทศที่มีความร่วมมือกับ • นักวิจัยไทย ลงในฐานข้อมูล ThaiSCI 2002 เพื่อทำการประมวลผล • สามารถเรียกดูข้อมูล และสืบค้นข้อมูลได้ 4 ส่วน คือ • รายชื่อนักวิจัยไทย • จำนวนบทความของนักวิจัยไทย • จำนวนครั้งที่บทความของนักวิจัยไทยถูกอ้างอิง • จำนวนความร่วมมือระหว่างนักวิจัยไทยกับนักวิจัยต่างประเทศ • แต่ละส่วนสามารถทำการเรียกดูและสืบค้นได้ตาม • รายชื่อนักวิจัยไทย • สาขาวิชา(หลัก รอง และย่อย) • หน่วยงานต้นสังกัดของนักวิจัยไทย
ผลการวิจัย • จำนวนผลงานตีพิมพ์ (Number of publications) • จำนวนครั้งที่ถูกอ้างอิง (Times cited) • จำนวนความร่วมมือกับต่างประเทศ (Collaborations)
จำนวนผลงานตีพิมพ์ จำนวนบทความของนักวิจัยไทยในฐานข้อมูล SCI
จำนวนบทความของนักวิจัยไทยแบ่งตาม 5 อันดับแรกของ หน่วยงานต้นสังกัด *โปรดดูหน่วยงานย่อยของหน่วยงานที่ปรากฏในตารางข้างต้นนี้ได้ใน ภาคผนวก ค
หน่วยงานย่อยที่มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยสูงสุด 10 อันดับแรก ระหว่างปี ค.ศ. 1995-2002
จำนวนบทความวิจัยของนักวิจัย สวทช. ในฐาน SCI และ ThaiSci2002 จำนวนบทความของ BIOTEC (ได้รับข้อมูลจาก BIOTEC)
สาขาวิชาหลัก (PrimaryField) ที่มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยสูงสุด 10 อันดับแรกระหว่างปี ค.ศ. 1995-2002
สาขาวิชาย่อย (Subfield) ที่มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยสูงสุด 10 อันดับแรกระหว่างปี ค.ศ. 1995-2002
ชื่อนักวิจัยที่มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยสูงสุด 10 อันดับแรก ระหว่างปี ค.ศ. 1995-2002
จำนวนครั้งที่ถูกอ้างอิงจำนวนครั้งที่ถูกอ้างอิง จำนวนครั้งที่บทความของนักวิจัยไทยถูกอ้างอิงจากวารสารวิชาการ นานาชาติในฐานข้อมูล SCI
จำนวนครั้งที่บทความของนักวิจัยไทยถูกอ้างอิงจากวารสารวิชาการจำนวนครั้งที่บทความของนักวิจัยไทยถูกอ้างอิงจากวารสารวิชาการ นานาชาติในฐานข้อมูล SCIแบ่งตาม 5 อันดับแรกของหน่วยงานที่สังกัด
หน่วยงานย่อยที่ถูกอ้างอิงสูงสุด 10 อันดับแรก ระหว่างปี ค.ศ. 1995-2002
สาขาวิชาหลัก (PrimaryField) ที่มีการอ้างอิงสูงสุด 10 อันดับแรก ระหว่างปี ค.ศ. 1995-2002
สาขาวิชาย่อย (Subfield) ที่มีการอ้างอิงสูงสุด 10 อันดับแรก ระหว่างปี ค.ศ. 1995-2002
ชื่อนักวิจัยที่ถูกอ้างอิงสูงสุด 10 อันดับแรก ระหว่างปี ค.ศ. 1995-2002
จำนวนความร่วมมือกับต่างประเทศจำนวนความร่วมมือกับต่างประเทศ ประเทศที่มีจำนวนผลงานตีพิมพ์ร่วมกับนักวิจัยไทยมากที่สุด 10 อันดับแรกระหว่างปี ค.ศ. 1995-2002
ประเทศที่มีเปอร์เซ็นต์ผลงานตีพิมพ์ร่วมกับนักวิจัยไทยต่อจำนวนประเทศที่มีเปอร์เซ็นต์ผลงานตีพิมพ์ร่วมกับนักวิจัยไทยต่อจำนวน ความร่วมมือทั้งหมด มากที่สุด 10 อันดับแรก
สาขาวิชาหลัก (PrimaryField) ที่มีผลงานตีพิมพ์ร่วมกับนักวิจัยต่างประเทศระหว่างปี ค.ศ. 1995-2002 มากที่สุด 10 อันดับแรก
สาขาวิชาย่อย (Subfield) ที่มีผลงานตีพิมพ์ร่วมกับนักวิจัย ต่างประเทศระหว่างปี ค.ศ. 1995-2002 มากที่สุด 10 อันดับแรก
หน่วยงานที่มีผลงานตีพิมพ์ร่วมกับนักวิจัยต่างประเทศระหว่างปี ค.ศ. 1995-2002 มากที่สุด 10 อันดับแรก
บทสรุป • จำนวนบทความวิจัยของนักวิจัยไทยเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ จากจำนวน 700 ถึง 1804 บทความต่อปีจากปี ค.ศ. 1995 ถึงปี ค.ศ. 2002 • จำนวนบทความส่วนใหญ่มาจากนักวิจัยของ Ministry of University Affairs ประมาณ 90% • มหาวิทยาลัยมหิดล (31.42%) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (18.66%) • และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (9.28%) มีจำนวนทความวิจัยสูงสุด 3 อันดับแรก • สาขาวิชาที่มีจำนวนบทความวิจัยสูงสุดคือ Clinical medicine (สาขาวิชาหลัก) Chemistry (สาขาวิชารอง) และ Chemical engineering (สาขาวิชาย่อย)
บทความวิจัยของนักวิจัยที่ลงพิมพ์ในปี ค.ศ. 1995-2002 ได้รับการอ้างอิงรวมทั้งสิ้น 37,712 ครั้ง โดยบทความที่ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1995 มีจำนวนครั้งที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด • จำนวนครั้งที่บทความวิจัยของนักวิจัยไทยถูกอ้างอิงสูงสุด 3 อันดับแรกมาจาก มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • สาขาวิชาที่มีจำนวนครั้งที่บทความวิจัยของนักวิจัยไทยถูกอ้างอิงสูงสุด คือ สาขาวิชา Clinical medicine (สาขาวิชาหลัก) และ สาขาวิชา General & Internal Medicine (สาขาวิชาย่อย)
USA เป็นประเทศที่มีจำนวนความร่วมมือกับนักวิจัยไทยในการตีพิมพ์ผลงานวิจัยมากที่สุด รองลงมาเป็น Japan และ UK ตามลำดับ • สาขาวิชาที่มีจำนวนความร่วมมือที่นักวิจัยไทยมีผลงานวิจัยร่วมกับนักวิจัยต่างประเทศสูงสุด คือ Clinical medicine (สาขาหลัก) Chemistry (สาขารอง) และ General & Internal Medicine (สาขาย่อย) • จำนวนความร่วมมือที่นักวิจัยไทยตีพิมพ์ผลงานวิจัยร่วมกับนักวิจัยในต่างประเทศส่วนใหญ่มาจากนักวิจัยของ มหาวิทยาลัยมหิดล รองลงมาเป็น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถานภาพการตีพิมพ์ผลงานวิจัยของนักวิจัยไทยในระดับนานาชาติยังตกต่ำ (จริงหรือ?) #1 • เป็นนักวิจัยแต่ไม่ตีพิมพ์ (เผยแพร่) ผลงานวิจัย (บางที แย่กว่านักวิจัยที่ไม่ทำวิจัยเลยเสียอีก) • เผยแพร่ผลงานในแหล่งตีพิมพ์ที่ไม่มีการตรวจสอบต้นฉบับอย่างเข้มข้นก่อนรับลงพิมพ์ (เช่น ในวารสารภายในประเทศ และที่ประชุมวิชาการ) • มาตรฐานการกำหนดตำแหน่งทางวิชาการยังไม่เข้มข้น อาจารย์ (ส่วนใหญ่ของผลงานตีพิมพ์) เลือกใช้ปริมาณมากกว่าคุณภาพ • ระบบการประเมิน (ทางวิชาการ) ไม่เน้นการเผยแพร่ผลงานในระดับนานาชาติ (เกรงว่าการตั้งกติกานี้จะผูกมัดตนเอง)
สถานภาพการตีพิมพ์ผลงานวิจัยของนักวิจัยไทยในระดับนานาชาติยังตกต่ำ (จริงหรือ?) #2 5. อาจารย์/นักวิจัยมีภาระงานสอน (การถ่ายทอดความรู้) มากกว่างานวิจัย (การแสวงหาความรู้) และมีงานธุรการ/บริหารมากอีกด้วย 6. อ้างว่าปัจจัยเกื้อหนุน (เงินทุน อุปกรณ์วิจัย และเวลา) ไม่เพียงพอ และเมื่อไม่มีงานวิจัยก็ไม่มีการตีพิมพ์ 7. ติดตามความรู้และเทคโนโลยีใหม่ไม่ทัน ไม่กัดติดงานวิจัยเฉพาะทาง ทำให้ไม่รู้จริง และไม่สามารถตีพิมพ์ได้ 8. ไม่รู้วิธีการเขียนบทความวิจัย (ระดับนานาชาติ) เพื่อตีพิมพ์ นักวิจัยบางท่านมีข้อจำกัดทางภาษานานาชาติ 9. นักวิจัยไทยไม่ชอบทำงานร่วมกัน โดยเฉพาะนักวิจัยที่อยู่สถานบันเดียวกัน
สถานภาพการตีพิมพ์ผลงานวิจัยของนักวิจัยไทยในระดับนานาชาติยังตกต่ำ (จริงหรือ?) #3 10. ยังไม่มีระบบนักวิจัยพี่เลี้ยง 11. นักวิจัยเน้นทำงานตามผู้อื่นมากกว่าเป็นผู้ริเริ่มและบุกเบิก (ปริมาณการถูกอ้างอิงน้อย) 12.ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การเผยแพร่ผลงานระดับนานาชาติ ทำให้ผลงานมีผลกระทบน้อย 14. นักวิจัยบางกลุ่มมุ่งทำงาน industrial มากกว่า basic ทำให้ไม่สามารถตีพิมพ์ได้
จบการนำเสนอ • รายชื่อคณะวิจัยในโครงการ (ภายใต้การสนับสนุนจาก สวทช.) • (จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) รศ.ดร.ณรงค์ฤทธิ์สมบัติสมภพ คณะพลังงานและวัสดุ ดร.นงเยาว์ เปรมกมลเนตร สำนักหอสมุด นางปรียานุช รัชตะหิรัญ คณะพลังงานและวัสดุ นายวุฒิสิทธิ์ ย่อชัย คณะพลังงานและวัสดุ นายธีระศักดิ์ หมากผิน คณะพลังงานและวัสดุ