220 likes | 671 Views
การพัฒนาระบบบริการ สาขาโรคมะเร็ง เขต12. Powerpoint Templates. ลดป่วย,ลดตาย,ลดรอคอย ลด Stage 3,4 ให้บริการในพื้นที่ ลดส่งต่อ. Primary prevention. Research. 7 ยุทธศาสตร์. Early diagnosis. Informatics. Diagnosis. Palliative care. Treatment. สภาพปัญหา. เป้าหมายบริการ เขต 12.
E N D
การพัฒนาระบบบริการ สาขาโรคมะเร็ง เขต12 Powerpoint Templates
ลดป่วย,ลดตาย,ลดรอคอย ลด Stage 3,4 ให้บริการในพื้นที่ ลดส่งต่อ Primary prevention Research 7 ยุทธศาสตร์ Early diagnosis Informatics Diagnosis Palliative care Treatment
สภาพปัญหา เป้าหมายบริการเขต 12 เป้าหมายผลลัพธ์เขต 12 ผลการพัฒนาบริการ มะเร็ง • มีเครือข่ายผู้เชี่ยวชาญทางด้านมะเร็ง • รพ. สามารถผ่าตัดมะเร็งและให้เคมีบำบัด • ได้ 79 แห่ง (ครอบคลุมทุกเขตบริการสุขภาพ) • รพ. สามารถบริการรังสีรักษาได้ 9 แห่ง (8 เขตฯ) • สาเหตุการตายอันดับหนึ่งของประเทศ • ระยะเวลารอคอยในการฉายแสงนาน • ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและการเดินทางสูง • พัฒนาศักยภาพศูนย์มะเร็งระดับ 1 • ขยายการรักษาด้วยเคมีบำบัดในศูนย์ระดับ 2 • ขยายบริการ Palliative care, จัดทำ Cancer Registry มาตรการ • สตรีไทยมีการตรวจเต้านมและพบมะเร็งระยะ 1-2 มากกว่าหรือเท่ากับ80%ในปี 2557 • ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก>80%ใน 3 ปี • คิวระยะเวลาฉายแสงลดลงไม่เกิน 1 เดือน • รพท. / รพช. สามารถให้เคมีบำบัดได้เหมาะสมตามศักยภาพ • รังสีรักษา รพ.หาดใหญ่ ปี 2559 – 2560 • ข้อมูลทะเบียนมะเร็งมีความสมบูรณ์ • ลดความแออัดหน่วยเคมีบำบัด ให้บริการที่ รพช.
การคัดกรอง โครงการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยมะเร็งระยะต้น • โครงการศึกษาวิธีตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ด้วยแบบคัดกรองความเสี่ยงมะเร็งเต้านม โรงพยาบาลหาดใหญ่ • โครงการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยวิธีการตรวจเลือดในอุจจาระวิธีพิเศษ Early diagnosis
การศึกษาวิธีตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ด้วยแบบคัดกรองความเสี่ยงมะเร็งเต้านม โรงพยาบาลหาดใหญ่ 40-74 ปี 1,159 ราย ความเสี่ยง ≥ 5 29 ราย 2.5 % ความเสี่ยง ≤ 5 1130 ราย 97.5 % Mammogram 23 ราย BIRADS 3 : 6ราย BIRADS 2 : 15ราย Early diagnosis
การคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยวิธีการตรวจเลือดในอุจจาระวิธีพิเศษการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยวิธีการตรวจเลือดในอุจจาระวิธีพิเศษ ≥ 50 ปี FIT 1st1,148ราย FIT 1st+ 304 ราย 26.5% FIT 1st- 844 ราย 73.5% ไม่ยินยอมตรวจ Colonoscopy 110 ราย FIT 2nd 15 ราย ผิดปกติ 87 (79%) ปกติ 23 (21%) 1) Cancer 4 ราย 2)Diver 12 ราย 3) Angiodysplasia6 ราย 4) Polyp 27 ราย 5) Colitist7 ราย 6)Hemorrhoid 30 ราย 7)อื่นๆ 10ราย FIT2nd+ 2 ราย 20% FIT2nd- 13 ราย 86% Early diagnosis
การจัดทำฐานข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่การจัดทำฐานข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ Informatics
ปี 2556 ผลการดำเนินงานการจัดทำฐานข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ 1. ประชุมกรรมการระดับเขตเพื่อปรึกษาหารือเพื่อกำหนดแผนการดำเนินงานสาขามะเร็ง 2. จัดประชุมให้ความรู้เรื่องทะเบียนมะเร็งแก่คณะกรรมการศูนย์ความเชี่ยวชาญ สาขามะเร็งระดับเขต 3. ประสาน รพ. ในระดับ A ,Sและ M1 จำนวน 10 โรงพยาบาล มอบหมายผู้รับผิดชอบ (nurse manager) 4. กำหนดแนวทางและแบบฟอร์มการเก็บข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ (New case,Staging,Waiting time) เพื่อให้เป็นแนวทางเดียวกัน Informatics
ปี 2557 ผลการดำเนินงานการจัดทำฐานข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ (ต่อ) 5. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำทะเบียน และการใช้โปรแกรม Thai Cancerbase โดยวิทยากรจากสถาบันมะเร็งแห่งชาติ และหน่วยสารสนเทศมะเร็ง คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 6. แต่งตั้งคณะกรรมการทะเบียนมะเร็ง เขตบริการสุขภาพที่ 12 7. เริ่มจัดเก็บข้อมูลโดยใช้โปรแกรม ThaiCancerBase ในแต่ละโรงพยาบาล 8. ประชุมติดตามความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรค ในการดำเนินงานและการใช้งานโปรแกรมฯ
แบบฟอร์มเก็บข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ในโรงพยาบาลแบบฟอร์มเก็บข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ในโรงพยาบาล
จำนวนผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ เขต 12 ปี 56
จำนวนและสัดส่วนผู้ป่วยมะเร็งเต้านมรายใหม่ ปี 56 เขต 12 เกณฑ์ : สัดส่วนผู้ป่วย ระยะ1,2 ≥ ร้อยละ70
จำนวนผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ เขต 12 ปี 56
จำนวนและสัดส่วนผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ ปี 56 เขต 12 เกณฑ์ : สัดส่วนผู้ป่วย ระยะ1,2 ≥ ร้อยละ70
จำนวนผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่รายใหม่ เขต 12 ปี 56
จำนวนและสัดส่วนผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่รายใหม่ ปี 56 เขต 12
ระยะเวลารอคอย มะเร็งเต้านม ปี 56 เขต 12
ระยะเวลารอคอย มะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 56 เขต 12
สรุปปัญหา/ข้อค้นพบจากการเก็บข้อมูลสรุปปัญหา/ข้อค้นพบจากการเก็บข้อมูล • ผู้ป่วยปฏิเสธการรักษาในระยะแรก หรือยังไม่พร้อม / ติดตามผู้ป่วยไม่ได้ / รักษาหมอพื้นบ้าน • แพทย์ให้การรักษาแบบ Neoadjuvantรอการผ่าตัด / ไม่ระบุ Stage • ผู้ป่วยส่งต่อไปยัง รพ. มอ. • จนท.มีงานประจำไม่ไม่ค่อยมีเวลาไปเก็บข้อมูลทุกสัปดาห์ ทำให้ Update ข้อมูลล่าช้า
การดูแลรักษาโรคมะเร็ง (Treatment) • พัฒนาระบบบริการการให้ยาเคมีบำบัดในผู้ป่วยมะเร็งที่ รพ.นาหม่อม เพื่อลดความแออัดลดระยะเวลาการรอคิวในการให้ยาเคมีบำบัดของผู้ป่วยมะเร็งที่ รพ.หาดใหญ่ • เริ่มส่งผู้ป่วยไป รพ.นาหม่อม เมื่อเดือนธันวาคม 2556 ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2557 มีผู้ป่วยรับยาเคมีบำบัดที่ รพ.นาหม่อม จ.สงขลา แล้ว 5 ราย