730 likes | 1.25k Views
บทที่ 2 สีและการจัดองค์ประกอบของภาพ. สี องค ประกอบแห งอารมณ : Colour. สีมีอิทธิพลในเรื่องของอารมณ การสื่อความหมายที่เด นชัด และกระตุ นต อการรับรู ของคนเราได เป นอย างดี. องค ประกอบสีในงานออกแบบนั้น มีคุณสมบัติอยู 3 ประการ คือ. สี , เนื้อสี ( Hue )
E N D
บทที่ 2สีและการจัดองค์ประกอบของภาพ
สี องคประกอบแหงอารมณ : Colour สีมีอิทธิพลในเรื่องของอารมณการสื่อความหมายที่เดนชัด และกระตุนตอการรับรูของคนเราไดเปนอยางดี องคประกอบสีในงานออกแบบนั้น มีคุณสมบัติอยู 3 ประการ คือ สี, เนื้อสี (Hue) น้ำหนักสี (Value / Brightness) ความสดของสี (Intensity / Saturation)
สี,เนื้อสี HUE • เนื้อสี หรือ Hue คือความแตกตางของสีบริสุทธิ์แตละสี ซึ่งเราจะเรียกเปนชื่อสี เชน สีแดง สีน้ำตาล สีมวง เปนตน โดยแบงเนื้อสีออกเปน 2 ชนิด ดวยกันคือ สีของแสง (Coloured Light) สีของสาร (Coloured Pigment)
การผสมสี • จากการที่เรามองเห็นสีของสารตาง ๆ นี่เอง จึงคนพบวามีสีอยู 3 สีที่เปนตนกําเนิดของสีอื่น ๆ ที่ไมสามารถสรางหรือผสมใหเกิดจากสีอื่นได หรือที่เราเรียกกันวา “แมสี” ไดแก แดง, เหลือง, น้ำเงิน จริงๆแล้วสีที่เรามองเห็นเกิดจาการผสมสี ใน 2 รูปแบบคือ additive colours Subtractive colours
วงจรสี (Colour Wheel) • วงจรสีนั้นก็คือการวางเนื้อสี Hue ที่เราพูดกันมากอนหนานี้ โดยเรียงกันตามการผสมสีของสารที่เรามองเห็น โดยตัวอยางของแบบจําลองวงจรสีที่จะหยิบยกมาศึกษากันนี้ เปนแบบ 12 สีมาตรฐานที่ใชกันอยูในปจจุบัน
สีโทนรอน – สีโทนเย็น • เรื่องของสีอีกเรื่องหนึ่งซึ่งเปนเรื่องสําคัญในการออกแบบคือ เรื่องของเนื้อสีที่แบงออกเปน 2 กลุมตามอุณหภูมิของสีคือ สีโทนรอนและสีโทนเย็นโดยจะสังเกตไดงายในวงจรสี ► สีโทนรอน ใหความรูสึกมีพลัง อบอุนสนุกสนาน และดึงดูดความนา สนใจไดดี ► สีโทนเย็น ใหความรูสึก เรียบ สงบ เยือกเย็น ลึกลับ มีระดับ
การเลือกใช้โทนสีที่ให้ความรู้สึกอบอุ่นการเลือกใช้โทนสีที่ให้ความรู้สึกอบอุ่น Artist: Jan VermeeTitle: Girl Asleep at a Table Year: 1657Form of Art: realisticColor Scheme: warm (red, red-orange, orange, yellow-orange, yellow and values)
การเลือกใช้โทนสีที่ให้ความรู้สึกเย็นการเลือกใช้โทนสีที่ให้ความรู้สึกเย็น Artist: Pablo PicassoTitle: Femme Allonge Lisant (Marie-Thrse)Year: 1939Form of Art: abstractColor Scheme: cool (yellow-green, green, blue-green, blue-purple and values) 9
น้ำหนักสี Value • น้ำหนักสีก็คือ เรื่องของความสวางของสี หรือการเพิ่มขาวเติมดําลงในเนื้อสีที่เรามีอยู และการปรับเปลี่ยนน้ำหนักของสีนี่เองที่ทําใหภาพดูมีมิติ ดูมีความลึก หรือที่เราเรียกกันวา โทน Tone • น้ำหนักสีของสาร เราจะเรียกวา น้ำหนักสี Value สวนน้ำหนักสีของแสงนั้น เราจะเรียกวาความสวาง Brightness
น้ำหนักของสี (Value) • น้ำหนักของสี คือความสว่างของสี หรือการเพิ่มขาว เติมดำลงไปในเนื้อสี การปรับเปลี่ยนน้ำหนักของสีจะทำให้ภาพดูมีมิติ มีความลึก ค่าสีน้ำหนักสูง ความสว่างต่ำ ค่าสีน้ำหนักปานกลาง ความสว่างปานกลาง ค่าสีน้ำหนักต่ำ ความสว่างสูง
น้ำหนักสี Value ► การปรับเปลี่ยนน้ำหนักสี ทําใหภาพ 2 มิติ มีความลึกเปน 3 มิติ ►คาความสวางนี้เราจะเรียกกันวา “โทน Tone” ซึ่งกําหนดความมีมิติ หรือความลึกให้ภาพ 12
ความสดของสี Intensity / Saturation การลดความสดของสีก็เพื่อไมใหภาพงานที่ออกมานั้นดูฉูดฉาด จนเกินไป เรียกอีกอยางวา เปนการเบรกสี 1.ศิลปนมักจะใชสีน้ำตาลเติมลงในสีที่ต้องการให้ความสด ของสีนอยลงนั่นเอง 2. ปจจุบันเราใชคอมพิวเตอรในการออกแบบการลดความสด ของสีลง เช่น Photoshop คลิกเมนู Image>Adjust>Hue & Saturation หรือกดคีย <Ctrl+U>
ความสดของสี Intensity / Saturation ► ภาพกอนทําการลดความสด Saturation ของสี ► ภาพหลังทําการลดความสด Saturation ของสี
การเลือกสีมาใชงาน Colour for Design • การเลือกเนื้อสี Choose Hue • การเลือกน้ำหนักสี Choose Value • การเลือกความสดของสี Choose Saturation
การเลือกเนื้อสี Choose Hue ในการเลือกเนื้อสีมาใชงานเราจะเลือกจาก • ความหมายของเนื้อสีแตละสี เช่น สีเงินจะนึกถึงสิ่งใหม่ๆ ความทันสมัย • เลือกเนื้อสีที่อยูดวยกันแลวดูดีดูเหมาะสม และ คำนึงถึงผู้ใช้งาน (User Target) เช่น ถ้าออกแบบงาน ที่ใช้กับเด็ก ควรเลือกใช้แม่สี เพื่อให้เด็กสังเกตและ รับรู้ได้ง่าย
ความหมายของสี • สีแดง อ้างอิงมาจากไฟ จึงให้อารมณ์ของความร้อน พลัง พลังงาน ความแรง และความเป็นมงคลตามความเชื่อของชาวจีน • สีเหลือง ให้ความสดใส ปลอดโปร่ง ดึงดูดสายตา • สีน้ำเงิน ให้ความสงบเรียบ สุขุม มีราคา หรูหรามีระดับ บางครั้งสื่อถึงความสุภาพ หนักแน่น ผู้ชาย • สีส้ม ให้ความรู้สึกดึงดูด ทันสมัย สดใส กระฉับกระเฉง มีพลัง • สีม่วง ให้อารมณ์หนักแน่น มีเสน่ห์ ความลับ สิ่งที่ปกปิด
ความหมายของสี • สีเขียว ให้ความรู้สึกสดชื่น ธรรมชาติ เย็นสบาย • สีชมพู ให้ความอ่อนหวาน นุ่มนวล ความรัก วัยรุ่น ผู้หญิง • สีน้ำตาล ให้ความสงบ ความเรียบ ความเป็นผู้ใหญ่ ความเก่าแก่โบราณ บางครั้งสื่อถึงไม้ แมกไม้ • สีฟ้า ให้ความรู้สึกโปร่งโล่งสบายตา นุ่มนวล สุขสบาย • สีเงิน ให้ความรู้สึกถึงสิ่งใหม่ ๆ ทันสมัย มีคุณค่า มีราคา
ความหมายของสี • สีทอง เป็นตัวแทนของความมีคุณค่า ความหรูหรา ราคาแพง • สีขาว สื่อถึงความบริสุทธิ์ สะอาด เรียบง่าย ความโล่ง ความว่างเปล่า • สีเทา ให้อารมณ์เศร้า หม่นหมอง ไร้ชีวิตชีวา บางครั้งสื่อถึงความเป็นกลาง • สีดำ ซ่อนความไม่รู้ ความน่ากลัว บางครั้ง จะใช้สีดำหรือสีเข้ม เพื่อเน้นขับสิ่งที่อยู่ภายในให้เด่นชัด จึงมักนิยมใช้เป็นสีพื้น
การเลือกน้ำหนักสี Choose Value • การเลือกน้ำหนักสีจะเปนขั้นตอนถัดมาหลังจากเราเลือกสีไดแลว น้ำหนักของสีมีอิทธิพลตอความมืดสวางในภาพ ซึ่งใหอารมณของภาพที่แตกตางกันไป
การเลือกความสดของสี Choose Saturation การเลือกความสดของสีเปนเรื่องสุดทายในการเลือกสี เพื่อออกแบบงานสีที่มีความสดสูงจะใหความรูสึกรุนแรง ตื่นตัวสะดุดตา ในขณะที่สีที่มีความสดนอยหรือสีหมน จะใหความรูสึกสงบ ไมโดดเดน หมนหมอง เศรา ถาสีที่มีความสดอยูในระดับกลางจะใหความรูสึกพักผอน สบายตา
การวางโครงสี Colour Schematic กล่าวคือทฤษฎีสีของการใชสี หรือการเลือกสีมาใชรวมกันใน ภาพ เพื่อใหภาพออกมาดูดี ดูนาพอใจ เรียกวา Colour Schematic หรือการวางโครงสี (ซึ่งบางคนก็คุนกับคําวา การจับคูสีการเลือกคูสี) • Monochrome • Analogus • Dyads • Triads • Tetrads
Monochrome คือโครงสีเอกรงค คือมีเนื้อสี Hue เดียว แตใหความแตกตางดวยน้ำหนักสี Value
การวางโครงสี (Color Schematic) • การวางโครงสี คือการจับคู่สี หรือเลือกสี เพื่อใช้ร่วมกันในภาพ เพื่อให้ภาพออกมาดูดี ดูน่าพอใจ • Monochrome คือการมีเนื้อสีเดียว แต่ให้ความแตกต่างด้วยน้ำหนักสี การใช้สีแบบนี้ให้อารมณ์ความรู้สึกสุขุม เรียบร้อย เป็นสากล ไม่ฉูดฉาดสะดุดตา
ตัวอย่างภาพแบบ Monochromatic Artist: Marc ChagallTitle: Les Amants Sur Le ToitForm of Art: abstractColor Scheme: monochromatic (blue and values) 25
Analogus หรือโครงสีขางเคียง คือสีที่อยูติดกัน อยูขางเคียงกันในวงจรสี จะเปนทีละ 2 หรือ 3 สีหรือบางทีอาจจะใชไดถึง 4 สี แตก็ไมควรมากกวานี้
การวางโครงสี (Color Schematic) • Analogous หรือโครงสีข้างเคียง คือสีที่อยู่ติดกันในวงจรสี จะเป็นทีละ 2 หรือ 3 สี หรืออาจจะถึง 4 สี จะทำให้ภาพโดยรวม ได้อารมณ์ไปในกลุ่มโทนสีนั้น และไม่ดูฉูดฉาดเกินไป
ตัวอย่างภาพแบบ Analogous Artist: Vincent van GoghTitle: The IrisYear: 1889Form of Art: realisticColor Scheme: analogous (yellow, yellow-green, green, blue-green and values) 28
Dyads • คือโครงสีคูตรงขาม Complementary Colour คือสีที่อยูตรงขามกันในวงจรสี การเลือกใชสีคูตรงขามจะทําใหงานที่ไดมีความสะดุดตาในการมอง • ควรแบงพื้นที่ของสีในภาพของการใชสีใดสีหนึ่งมากกวาอีกสีหนึ่ง โดยประมาณมักจะใชสีหนึ่ง 70% อีกสีหนึ่ง 30% ภาพที่ไดก็จะ คงความมีเอกภาพอยู และยังมีความเดนสะดุดตาไปไดในตัว
การวางโครงสี (Color Schematic) • Complementary Color คือการใช้คู่สีตรงข้าม คือสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงจรสี การเลือกใช้สีคู่ตรงข้ามจะทำให้งานที่ได้มีความสะดุดตาในการมอง แต่ควรระวัง ถ้าใช้สีคู่ตรงข้ามในพื้นที่ใกล้เคียงกัน งานนั้นจะดูไม่มีเอกภาพ โดยทั่วไปควรจะใช้สีหนึ่งประมาณ 70% อีกสี 30%
Dyads ตัวอย่างการออกแบบโดยเลือกใช้สีคู่ตรงข้าม
ตัวอย่างภาพแบบ Complementary Artist: Paul Cezanne Title: La Montage Saint VictoireYear: 1886-88Form of Art: abstractColor Scheme: complementary (blue, orange and values) 32
Triads Triads หรือโครงสี 3 สี คือ • เปนการใชสี 3 สี ในชวงหางระหวางสีทั้ง 3 เทากัน ถาเราลากเส้นระหวางสีทั้ง 3 สี เราจะไดสามเหลี่ยมดานเทา • เปนการใชสี 3 สี ในชวงหางระหวางสีทั้ง 3 ไมเทากัน คือ มีชวงหาง 2 ชวงเทากัน แตกับอีกด้านหนึ่งชวงหางจะมีความยาวกวา ถาลากเสนระหวางสีดังกล่าวแลวจะได้รูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
Triads ตัวอย่างการออกแบบโดยเลือกใช้โครงสี 3 สี
Tetrads • Tetrads หรือโครงสี 4 สี คือ • การใชสีในวงจรสี 4 สี โดยเลือกสีที่มีชวงหางระหวางสีเทากันหมด กลาวคือถาเราลากเสนเชื่อมสีทั้ง 4 แลวเราจะไดสี่เหลี่ยมจัตุรัส • การใชสีในวงจรสี 4 สี โดยเลือกสีที่มีชวงหางระหวางสีไม่เทากัน โดยชวงหางของ 2 สีเปนชวงสั้นและอีก 2 สีเปนชวงยาว กลาวคือถาเราลากเสนเชื่อมสีทั้ง 4 แลวเราจะได้สี่เหลี่ยมผืนผา
Tetrads ตัวอย่างการออกแบบโดยเลือกใช้โครงสี 4 สี
การจัดองค์ประกอบภาพ คอมพิวเตอร์กับงานกราฟิกส์
การจัดองค์ประกอบภาพ : Composition • การจัดวางองค์ประกอบภาพ คือการจัดวางองค์ประกอบที่มีอยู่ในภาพให้ได้ภาพรวมของงานที่สวยงาม และสื่อความหมาย ซึ่งมีหลักการ 2 อย่าง • การสร้างเอกภาพ (Unity) • การสร้างจุดเด่น เน้นจุดสำคัญ (Emphasize) • การวางจุดสนใจในงาน Focus Point • การสรางความแตกตางในงาน Contrast • การวางแยกองค์ประกอบให้โดดเดน Isolation
การจัดองค์ประกอบภาพ : Composition • สมดุลในงานออกแบบ Balance • ขนาดและสัดส่วนขององคประกอบ Scale & Proportion • ที่วางในงานออกแบบ Spacing
เอกภาพ • คือความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เป็นจุดเริ่มต้นในการจัดองค์ประกอบของภาพ • องค์ประกอบในภาพ ต้องมีความกลมกลืนกัน เป็นพวกพ้องกัน ไม่ขัดกัน
การวางจุดสนใจในงาน • การวางตำแหน่งขององค์ประกอบที่จะเน้นให้เกิดจุดสนใจ จะวางในตำแหน่งที่ 1,3,2 และ 4 เป็นหลัก โดยแต่ละตำแหน่งมีคุณสมบัติแตกต่างกันออกไป 1 0 2 0 4 0 2 3 0
การวางจุดสนใจในงาน • ตำแหน่ง 0 เป็นตำแหน่งที่ไม่ควรวางองค์ประกอบที่ต้องการเน้น เพราะเป็นตำแหน่งที่สายตาคนส่วนใหญ่ไม่ได้ให้ความสนใจนัก เพราะอยู่ในช่วงครึ่ง ๆ กลาง ๆ ของภาพ ซึ่งลดแรงดึงดูดทางสายตา • ตำแหน่ง 1 เป็นตำแหน่งที่คนส่วนใหญ่เห็นเป็นอันดับแรก เนื่องจากความเคยชินในการกวาดตาเพื่ออ่านหนังสือ • ตำแหน่ง 2 เป็นตำแหน่งที่มีพลังในการดึงดูดสายตา มีความเฉียบ จึงเหมาะที่จะจัดวางองค์ประกอบที่ต้องการเน้น เนื่องจากเป็นตำแหน่งที่เรียกร้องความสนใจจากสายตาได้ดี
การวางจุดสนใจในงาน • ตำแหน่งหมายเลข 3 เป็นตำแหน่งที่สืบเนื่องมาจากตำแหน่งที่ 1 เพราะเป็นตำแหน่งสุดท้ายที่คนส่วนใหญ่กวาดสายตามอง • ตำแหน่งหมายเลข 4 เป็นตำแหน่งที่คนส่วนใหญ่มักจะให้เป็นตำแหน่งที่มีความสำคัญที่สุดในงาน ถึงแม้จะไม่เป็นจุดเรียกร้องสายตามากเท่ากับจุด 1,2,3 แต่ก็เป็นจุดรวมสายตาของผู้ชมที่มีต่องาน • ตำแหน่ง 1 กับ 3 จะมีพลังในการดึงดูดสายตามากกว่าตำแหน่ง 2 เพราะคนส่วนใหญ่มักกวาดสายตาจากมุมซ้ายบน ไปยังมุมขวาล่าง • ตำแหน่ง 0 สามารถวางองค์ประกอบให้น่าสนใจได้ เพราะบางครั้งทิศทาง หรือเส้นสายจากองค์ประกอบอื่น ๆ อาจพุ่งเน้นมายังตำแหน่งนี้ก็ได้
2 1 4 ตัวอย่างการจัดองค์ประกอบ 45
การสร้างความแตกต่าง • ความแตกต่างเป็นตัวกำหนดน่าสนใจหรือความโดดเด่นของภาพได้ดี แต่ไม่ควรให้มีความแตกต่างมากเกินไป เพราะจะทำให้ภาพไม่มีเอกภาพ มากกว่าจะก่อให้เกิดจุดสนใจ • ภาพตัวอย่าง เป็นการใช้ภาพที่โดดเด่น แตกต่างจากพื้นหลังสลัว ขับให้ภาพของอุปกรณ์ดูคมชัด และโดดเด่นขึ้น
การวางแยกองค์ประกอบให้โดดเด่นการวางแยกองค์ประกอบให้โดดเด่น • การวางองค์ประกอบให้โดดเด่น คือการแยกองค์ประกอบออกมา ให้ผู้ชมงานสังเกตุเห็นองค์ประกอบนั้นได้ง่าย แต่ต้องคำนึงถึง • ขนาดและสัดส่วนในการจัดองค์ประกอบ (Scale & Proportion) • ที่ว่างในงานออกแบบ(Spacing) • สมดุลในงานออกแบบ (Balance) • จังหวะขององค์ประกอบในงาน (Rhythm)
ตัวอย่างการวางแยกองค์ประกอบให้โดดเด่นตัวอย่างการวางแยกองค์ประกอบให้โดดเด่น 49
ขนาดและสัดส่วนในการจัดองค์ประกอบ Scale & Proportion • ขนาดขององค์ประกอบมีบทบาทในการกําหนดความสำคัญขององค์ประกอบนั้น ๆ องค์ประกอบขนาดใหญ่จะสื่อ ความหมายว่าตัวเองสำคัญกว่าองค์ประกอบที่มีขนาดเล็ก ที่ว่างในงานออกแบบ Spacing • Spacingที่ว่างที่อยู่รอบ ๆ องค์ประกอบในภาพจะสอดประสานกับองค์ประกอบที่อยู่ในภาพ ทำให้ภาพเกิดความเป็นภาพ และมีอิทธิพลในการสื่อความหมายได้