1 / 54

Intermediate Accounting I

Intermediate Accounting I. Asst.Prof. Dr. Panchat Akarak Tel. 08-1724-09xx p.thipnew1@hotmail.com School of Accounting Chiang Rai Rajabhat University. Intermediate Accounting I (AC 2103). 1. บทนำ Introduction 2. แม่บทการบัญชี Accounting Framework

rafer
Download Presentation

Intermediate Accounting I

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. IntermediateAccounting I Asst.Prof. Dr. Panchat Akarak Tel. 08-1724-09xx p.thipnew1@hotmail.com School of Accounting Chiang Rai Rajabhat University

  2. Intermediate Accounting I (AC 2103) 1. บทนำ Introduction 2. แม่บทการบัญชี Accounting Framework 3. เงินสดและการควบคุมเงินสด Cash and internal control 4. ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับ Receivables 5. เงินลงทุน Investments 6. สินค้าคงเหลือ – ราคาทุน Inventory-Cost Method สินค้าคงเหลือ – ราคาพิเศษ Inventory –Special Method 7. ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์และอสังหาริมทรัพย์เพี่อการลงทุน Property Plant and Equipment and Property Investment 8. ต้นทุนการกู้ยืม Borrowing Costs 9. ทรัพยากรธรรมชาติและสินทรัพย์ไม่มีตัวตน Natural Resource and Intangible Assets 10. การด้อยค่า Impairment Assets Intermediate Accounting I

  3. บทนำ (Introduction) Intermediate Accounting I 1. วิวัฒนาการของการบัญชี 2. สถาบันวิชาชีพบัญชีของต่างประเทศ 3. สถาบันที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชีของประเทศไทย

  4. 1. วิวัฒนาการของการบัญชี ลำดับวิวัฒนาการการบัญชี 1. วิวัฒนาการก่อนคริสตกาลจนถึงศตวรรษที่ 13 2. ศตวรรษที่ 13-17 3. ศตวรรษที่ 17-19 4. ศตวรรษที่ 19-20 5. ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน Intermediate Accounting I

  5. วิวัฒนาการก่อนคริสตกาลจนถึงศตวรรษที่ 13 • ช่วง ค.ศ. 1340 (พ.ศ. 1883)พบว่ามีการบันทึกทางการเงินตามระบบบัญชีคู่ • โดยพ่อค้าชาวเมืองเจนัว ประเทศอิตาลี 2. มีการแยกธุรกิจออกเป็นหน่วยธุรกิจจากเจ้าของ 4. มีการแยกบัญชีค่าใช้จ่ายและรายได้ออกเป็นคนละบัญชีกับบัญชีทุน Intermediate Accounting I 3. มีการบันทึกรายการเกี่ยวกับธุรกิจโดยใช้หน่วยเงินตรา

  6. ศตวรรษที่ 13-17 1. Luca Pacioliเขียนตำราชื่อ“Summa de ArithmeticaGeoetria, ProportionietProportionalite” ในตำรามีบทหนึ่งว่าด้วยการคำนวณและการบัญชีคู่ และได้รับความนิยมแพร่หลายในยุโรป 2. การค้าขยายออกนอกประเทศอิตาลี ทำให้เกิดการค้าแบบหุ้นส่วน 3. การทำบัญชีทำเพื่อเจ้าของกิจการ รูปแบบการทำรายงานแบ่งตามงวดเวลาเพื่อวัดผลการดำเนินงานเมื่องานเสร็จงานหนึ่งๆ 4. ในปลายศตวรรษที่ 15 ประเทศอิตาลี เริ่มเสื่อมอำนาจทางการค้า เพราะมีการค้นพบเส้นทางการค้าใหม่ ๆ ศูนย์กลางการค้าจึงย้ายจากประเทศอิตาลีไปอยู่แถบสเปน โปรตุเกส และฮอลันดา ทำให้ระบบบัญชีคู่แพร่หลายไปประเทศต่าง ๆ เพิ่มขึ้น Intermediate Accounting I

  7. ศตวรรษที่ 17-19 1. เริ่มมีการปิดบัญชีหาผลการค้ากำไรขาดทุนเป็นงวด ๆ 2. เน้นความสำคัญของงบดุล (งบแสดงฐานะการเงิน) 3. ยึดหลักการดำเนินงานต่อเนื่อง • เริ่มการปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศอังกฤษ และประเทศอื่น ๆ ในยุโรปซึ่งมีผลต่อการบัญชี Intermediate Accounting I

  8. ศตวรรษที่ 19-20 (ค.ศ. 1930 พ.ศ. 2473) • การค้าและอุตสาหกรรมขยายตัวอย่างรวดเร็วในประเทศอังกฤษ และสหรัฐอเมริกา มีการรวมบริษัท ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์เริ่มเข้ามามีอิทธิพลต่อการบัญชี 2. เริ่มมีการทำบัญชีเพื่อบุคคลภายนอก กำหนดรูปแบบงบการเงิน 3. มีตำราเกี่ยวกับบัญชีเขียนโดยนักวิชาการต่าง ๆ มากมาย • เนื่องจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมในประเทศอังกฤษ ทำให้มีการพัฒนาการบัญชีต้นทุนอย่างกว้างขวาง มีสินทรัพย์ถาวรมากขึ้น ทำให้ต้องมีการคำนวณมูลค่าให้ถูกต้องยิ่งขึ้น แนวคิดเกี่ยวกับค่าเสื่อมราคาเริ่มมีความสำคัญมากขึ้น Intermediate Accounting I

  9. ศตวรรษที่ 19-20 (ค.ศ. 1930 พ.ศ. 2473) 5. รัฐบาลของประเทศอังกฤษและสหรัฐอเมริกา เริ่มออกกฎหมาย เกี่ยวกับการค้า มีการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัท และเริ่มเก็บภาษี การค้า 6. ค.ศ. 1880 (พ.ศ.2423) Royal Charter จัดตั้งสมาคมนักบัญชีใน ประเทศอังกฤษ สมาชิกมี 2 ประเภท คือ สมาชิกสามัญ และสมาชิก อาวุโส 7. ค.ศ. 1886 (พ.ศ.2429)นักบัญชีกลุ่มหนึ่งในประเทศ สหรัฐอเมริกา ได้จัดตั้งสมาคมนักบัญชี และสมาชิกต้องผ่าน การทดสอบแล้ว เรียกว่า CPA Intermediate Accounting I

  10. ศตวรรษที่ 19-20 (ค.ศ. 1930 พ.ศ. 2473) • ค.ศ. 1905 (พ.ศ.2448) สมาคมนักบัญชีของอเมริกา เริ่มออก • วารสารรายเดือน ชื่อ Journal of Accountancy ซึ่งใช้เป็นสื่อกลางในการเผยแพร่การบัญชี การสอบบัญชี และการแสดงความคิดเห็นทางการบัญชี • ค.ศ.1916 (พ.ศ.2459) อาจารย์ผู้สอนในมหาวิทยาลัยใน • สหรัฐอเมริกาที่สอนวิชาการบัญชีได้ก่อตั้งสมาคมนักบัญชี และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น The American Accounting Association : AAA และได้จัดพิมพ์วารสารรายไตรมาสชื่อ The Accounting Review Intermediate Accounting I

  11. ศตวรรษที่ 19-20 (ค.ศ. 1930 พ.ศ. 2473) 10. ค.ศ. 1991 (พ.ศ.2462) มีการก่อตั้งสมาคมนานาชาติในประเทศสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันชื่อ National Association of Accountants (NAA) ทำการวิจัยค้นคว้าเกี่ยวกับปัญหาทางการบัญชีต้นทุนและบัญชีเพื่อการจัดการ และออกวารสารรายเดือนชื่อ Management Accounting 11. ค.ศ.1930 (พ.ศ.2473) สมาคม AICPA ได้ร่วมกับ New YorkStock Exchange ตั้งคณะกรรมการเพื่อพิจารณาร่วมกันเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติทางการบัญชีเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน Intermediate Accounting I

  12. ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน • ในประเทศอังกฤษ กำหนดให้มีการจัดทำงบกำไรขาดทุนเพิ่มจาก งบดุลและทำทุกปี • ช่วงต้นศตวรรษที่ 20 เน้นความสำคัญของงบกำไรขาดทุนมากกว่างบดุล แต่ตั้งแต่ศตวรรษที่ 21 เน้นความสำคัญของงบดุลมากกว่างบกำไรขาดทุน • มีการทำงบการเงินอย่างละเอียด มีการแถลงข้อเท็จจริงเกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินอย่างละเอียด และเน้นความสม่ำเสมอในการรายงาน เพื่อผลการเปรียบเทียบ Intermediate Accounting I

  13. ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน 4. ค.ศ. 1993 (พ.ศ. 2476) รัฐบาลประเทศสหรัฐอเมริกาออกกฎหมายตั้ง The Securities and Exchange Commission (SEC) เป็นหน่วยงานอิสระดำเนินการเกี่ยวกับหลักทรัพย์ และกำหนดให้บริษัท ต่าง ๆ ต้องจดทะเบียนหลักทรัพย์ กับ SEC ก่อนที่จะออกขายต่อสาธารณชน • ช่วง ค.ศ. 140 (พ.ศ.248.) Paton and Littleton ของ AAA ได้เขียน • หนังสือเรื่อง An Introduction to Corporate Accounting Standards 6. มีการใช้คำศัพท์ “Generally Accepted AccountingPrinciples” (GAAP) อย่างแพร่หลายในสหรัฐอเมริกา Intermediate Accounting I

  14. ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน 7. ค.ศ. 1942-1961 (พ.ศ.2495-2504) The Institute of Chartered Accountants in England and Wales ออก Recommendation on Accounting Principles คล้ายกับ Accounting Research Bulletins ของ AICPA เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ • ค.ศ. 1959 (พ.ศ.2502) AICPA ตั้ง The Accounting Principles • Board (APB)และ The Accounting Research Division ได้ออก Unofficial Pronouncements เรียกว่า Accounting Research Studies (ARS)มีทั้งหมด 15 ฉบับ และตีพิมพ์ (พ.ศ.2503-2516) Intermediate Accounting I

  15. ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน 9. APB ออก APB Opinions ทั้งหมด 31 Opinions และ 4 Statements ในช่วง (ค.ศ. 1959-1973 (14ปี) บางฉบับเป็นเป็นความเห็น และบางฉบับเป็นเรื่องใหม่ ส่วน Statement เป็นการออกในกรณีมีปัญหาทางการบัญชีและการค้นคว้าวิจัยหรือวิเคราะห์ปัญหา • ค.ศ.1966 (พ.ศ.2509) AAA ออก A Statement of Basic Accounting • Theory (ASOBAT) ออกมาตรฐานและแนวทางสำหรับการสื่อสารข้อมูลทางการบัญชี 11. ค.ศ.1978 (พ.ศ.2521) AAA ออก Series เกี่ยวกับ Statement of Accounting Theory and Theory Acceptance Intermediate Accounting I

  16. ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน 12. ช่วง ค.ศ.1971 (พ.ศ.2514) มีการจัดตั้ง The Cost accounting Standards Board (CASB) ในประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อออกมาตรฐานการบัญชีต้นทุนสำหรับกิจการที่ทำสัญญากับรัฐบาล 13. ค.ศ.1973 (พ.ศ.2516) The Wheat Committee ให้ยกเลิก APB และตั้ง The Financial Accounting Standards Board (FASB) ทำงานแทน เนื่องจากการทำงานของ APB ทำงานล่าช้า ผลงานไม่ก้าวหน้า Intermediate Accounting I

  17. ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน Pronouncements ของ FASB มี 4 ประเภท ได้แก่ 1. Statements of Financial Accounting Standards (SFAS) เป็นหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป (GAAP) 2. Interpretations of Financial Accounting Standards เป็นการอธิบายขยายความของ SFAS ที่ออกมาและมีผลบังคับใช้เช่นเดียวกับมาตรฐาน (Standards) 3. Statements on Financial Accounting Concepts เป็นการกำหนดวัตถุประสงค์และแนวคิดขั้นมูลฐานซึ่งจะใช้ในการพัฒนามาตรฐานการบัญชีต่อไป 4. Technical Bulletins เป็นการให้แนวทางเกี่ยวกับปัญหาทางบัญชีการเงินและการรายงานข้อมูลทางการเงิน Intermediate Accounting I

  18. ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน จนถึงปัจจุบัน FASB ได้ออก SFASInterpretations และ Technical Bulletins รวมประมาณ 200ฉบับ และออก Statements of Financial Accounting Concepts 7ฉบับ Intermediate Accounting I

  19. ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน ข้อแตกต่างที่ทำให้การทำงานของ FASB ประสบความสำเร็จมากว่า APB มีดังนี้ Intermediate Accounting I

  20. 2. สถาบันวิชาชีพบัญชีของต่างประเทศ 2.1 สหพันธ์นักบัญชีแห่งอาเซียน (AFA=อาฟ่า) 2.2 สหพันธ์นักบัญชีแห่งอาเซียนและแปซิฟิก (CAPA=คาป้า) 2.3 สหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศ (IFAC=ไอแฟ็ก) 2.4 คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (IASB=ไอเอเอสบี) 2.5 สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตสหรัฐอเมริกา (AICPA=เอไอซีพีเอ)

  21. 2.1 สหพันธ์นักบัญชีแห่งอาเซียน The ASEANFederation of Accountants หรือ AFA=อาฟ่า วันก่อตั้ง วันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2520 นักบัญชีในกลุ่ม Associationof South East Asian (ASEAN) ผู้ก่อตั้ง มี 6 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย และบรูไน) ประเทศสมาชิก ส่งเสริมรัฐบาล องค์กรธุรกิจ อุตสากรรมของประเทศ ในกลุ่มสมาชิก เร่งรัดพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วัตถุประสงค์ Intermediate Accounting I 21

  22. 2.1 สหพันธ์นักบัญชีแห่งอาเซียน The ASEANFederation of Accountants หรือ AFA คณะกรรมการ ชื่อ ASEANAccounting Standard: AAS ศึกษาหลักการบัญชีและมาตรฐานการบัญชี หน้าที่ ประชุมสมาชิกของแต่ละประเทศ ทุก ๆ 2 ปี โดยหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพ วาระการประชุม Intermediate Accounting I 22

  23. 2.2 สหพันธ์นักบัญชีแห่งอาเซียนและแปซิฟิก The Confederation of Asian and Pacific Accountants : CAPA วันก่อตั้ง ปี พ.ศ. 2500 ผู้ก่อตั้ง นักบัญชีในกลุ่มประเทศสมาชิก 14 ประเทศ วันเริ่มตั้งมี 14 ประเทศ ปัจจุบันมีสมาชิก 21ประเทศ ประเทศสมาชิก กำหนดแนวปฏิบัติทางการบัญชีสำหรับกลุ่มประเทศ Asian-Pacific วัตถุประสงค์ Intermediate Accounting I 23

  24. 2.2 สหพันธ์นักบัญชีแห่งอาเซียนและแปซิฟิก The Confederation of Asian and Pacific Accountants : CAPA คณะกรรมการ คณะกรรมการ CAPA กำหนดแนวปฏิบัติทางการบัญชี กำหนดแนวปฏิบัติด้านจรรยาบรรณและ การศึกษาสำหรับวิชาชีพการบัญชี ของกลุ่มสมาชิก หน้าที่ วาระการประชุม ประชุมสมาชิกของแต่ละประเทศ ทุก ๆ 3 ปี Intermediate Accounting I 24

  25. 2.3 สหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศ The International Federation of Accountants: IFAC วันก่อตั้ง ปี พ.ศ. 2520 องค์กรวิชาชีพทางการบัญชี 63 องค์กร จาก 49 ประเทศ ผู้ก่อตั้ง ประเทศสมาชิก ก่อตั้งจำนวน 49 ประเทศ ปัจจุบัน 129 ประเทศ ส่งเสริมและหาข้อยุติและความเห็นชอบในระดับนานาชาติเกี่ยวกับปัญหาทางการบัญชี วัตถุประสงค์ Intermediate Accounting I 25

  26. 2.4 คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ The International Accounting Standards Board: IASB วันก่อตั้ง ปี พ.ศ. 2516 ตัวแทนทางการบัญชีของประเทศต่าง ๆ จำนวน 9ประเทศ ผู้ก่อตั้ง ออสเตรเลีย แคนาดา ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น เม็กซิโก เนเธอร์แลนด์ สหราชอาณาจักรและไอร์แลนด์ และสหรัฐอเมริกา ประเทศสมาชิก วัตถุประสงค์ กำหนดมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ IASs Intermediate Accounting I 26

  27. 2.4 คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ The International Accounting Standards Board: IASB ชื่อเมื่อแรกตั้งคณะกรรมการ IASC ชื่อปัจจุบันคณะกรรมการ IASB คณะกรรมการ ออกมาตรฐานการบัญชี เรียกว่า International Financial Reporting Standards : IFRS หน้าที่ Intermediate Accounting I 27

  28. 3. สถาบันที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพบัญชีของประเทศไทย 3.1 สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ http://fap.or.th 3.2 สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย 3.3 คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพสอบบัญชี (ก.บช.) 3.4 คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย (ก.ล.ต.) 3.5 สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 3.6 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย http://set.go.th 3.7 กรมพัฒนาธุรกิจการค้า http://dbd.go.th 3.8 กรมสรรพากร http://rd.go.th 3.9 ธนาคารแห่งประเทศไทย Intermediate Accounting I 28

  29. 3.1 สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ Federation of Accounting Professions :FAP Under The Royal Patronage of His Majesty The King วันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2547 ใช้ชื่อแรก วันที่ 6 กันยายน 2548 ใช้ชื่อในโปรดเกล้าฯ วันก่อตั้ง เป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย มาตรา 6 แห่ง พ.ร.บ. วิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 ฐานะการตั้ง วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาวิชาชีพบัญชีของประเทศไทย Intermediate Accounting I 29

  30. 3.1 สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ อำนาจหน้าที่ของสภาวิชาชีพบัญชี • ส่งเสริมการศึกษา การอบรม และการวิจัย • ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติสมาชิก • กำหนดมาตรฐานการบัญชี การสอบบัญชี และที่เกี่ยวข้อง • กำหนดจรรยาบรรณผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี • รับขึ้นทะเบียนการประกอบวิชาชีพบัญชี • รับรองปริญญาการศึกษาสาขาการบัญชี • รับรองความรู้ความชำนาญในการประกอบอาชีพบัญชี • รับรองหลักสูตรการอบรมเป็นผู้ชำนาญการอาชีพบัญชี Intermediate Accounting I 30

  31. 3.1 สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ คณะกรรมการสภาวิชาชีพบัญชี • นายกสภาวิชาชีพบัญชี วาระการดำรงตำแหน่งคราวละ 3 ปี • โดยเลือกจากสมาชิกสามัญ • กรรมการโดยตำแหน่ง ประธานคณะกรรมการวิชาชีพบัญชี • ประธานคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการบัญชี ประธาน • คณะกรรมการจรรยาบรรณ • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ แต่งตั้งจากวิชาการบัญชี 2 คน และ • ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย 1 คน • 4. กรรมการที่เลือกจากสมาชิกสามัญ จำนวนไม่เกิน 5 คน Intermediate Accounting I 31

  32. 3.1 สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ วิชาชีพบัญชี หมายถึง วิชาชีพด้าน • ด้านการทำบัญชี • ด้านการสอบบัญชี • ด้านการบัญชีบริหาร • ด้านการวางระบบบัญชี • ด้านการบัญชีภาษีอากร • ด้านการศึกษาและเทคโนโลยีการบัญชี • บริการเกี่ยวกับการบัญชีที่กำหนดโดยกฎกระทรวงฯ Intermediate Accounting I 32

  33. 3.1 สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ ประเภทสมาชิกสภาวิชาชีพบัญชี ประกอบด้วย 4 ประเภท ดังนี้ • สมาชิกสามัญ • สัญชาติไทย อายุไม่ต่ำกว่า 20 ปี สำเร็จปริญญาตรี สาขาบัญชี • สมาชิกวิสามัญ • สัญชาติไทย อายุไม่ต่ำกว่า 20 ปี สำเร็จปริญญาตรี สาขาเกี่ยวข้อง • สมาชิกสมทบ • สัญชาติไทย หรือสัญชาติอื่นที่ยอมให้ไทยประกอบอาชีพสอบบัญชี • ในประเทศนั้นได้ อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี สำเร็จปริญญาตรีสาขาบัญชี • สมาชิกกิตติมศักดิ์ • ผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับเชิญ Intermediate Accounting I 33

  34. 3.2 สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย เป็นสถาบันเดิมที่มีบทบาทเช่นเดียวกับสภาวิชาชีพบัญชีในปัจจุบัน ซึ่งได้ถูกยกเลิกโดยกฎหมาย พ.ร.บ. วิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 จึงได้โอนทรัพย์สินสุทธิของสมาคมฯ ให้สภาวิชาชีพบัญชี Intermediate Accounting I 34

  35. 3.3 คณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพสอบบัญชี (ก.บช.) • ประกอบด้วยคณะกรรมการโดยตำแหน่ง 7 คน และได้รับการแต่งตั้งอีก 8 คน ในจำนวนนี้ต้องเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาตไม่น้อยกว่า 4 คน มีหน้าที่ดังนี้ 1. รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตเป็นผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 2. เพิกถอนใบอนุญาตผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 3. ออกข้อบังคับและวางหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการขอ ออก ต่ออายุ ของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 4. ให้คำปรึกษาและคำแนะนำแก่สถานศึกษา Intermediate Accounting I

  36. การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีในปัจจุบันของสภาวิชาชีพบัญชีฯ การปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีในปัจจุบันของสภาวิชาชีพบัญชีฯ Intermediate Accounting I สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ปรับปรุงพัฒนามาตรฐานการบัญชีให้สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ และก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงภาคธุรกิจ ปี พ.ศ. 2552 ปรับปรุงมาตรฐานการบัญชีให้สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ จำนวนหลายฉบับ และบังคับใช้ปี 2554 และปี 2556

  37. ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานการบัญชีไทย กับ IAS Intermediate Accounting I

  38. ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานการบัญชีไทย กับ IAS Intermediate Accounting I

  39. ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานการบัญชีไทย กับ IAS Intermediate Accounting I

  40. ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานการบัญชีไทย กับ IAS Intermediate Accounting I

  41. ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานการบัญชีไทย กับ IAS Intermediate Accounting I

  42. ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานการบัญชีไทย กับ IAS Intermediate Accounting I

  43. ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานการบัญชีไทย กับ IAS Intermediate Accounting I

  44. มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศกับไทย มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศกับไทย Intermediate Accounting I

  45. มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศกับไทย มาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศกับไทย Intermediate Accounting I

  46. มาตรฐานการบัญชีของไทยที่ไม่สามารถอ้างอิงโดยตรงกับ IAS Intermediate Accounting I

  47. 3.4 คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ก.ล.ต.) ประกอบด้วย (8-10 คน) 1. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง 2. ผู้การว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 3. ปลัดกระทรวงการคลัง 4. ปลัดกระทรวงพาณิชย์ 5. ผู้ทรงคุณวุฒิไม่น้อยกว่า 4 คน และไม่เกิน 6 คน ด้าน กฎหมาย การบัญชีและการเงิน Intermediate Accounting I

  48. 3.4 คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ก.ล.ต.) หน้าที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. 1. รักษาความยุติธรรมในตลาดทุนและตลาดการเงินโดยรวม 2. พัฒนาให้ตลาดทุนและตลาดการเงินมีประสิทธิภาพ 3. รักษาเสถียรภาพในระบบการเงิน 4. สนับสนุนให้ตลาดทุนไทยสามารถแข่งขันกับตลาดทุนต่างประเทศได้ Intermediate Accounting I

  49. 3.5 สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เป้าหมายของสำนักงาน ก.ล.ต. มี 5 ด้าน 1. การสร้างโครงสร้างพื้นฐานสำหรับตลาดทุน 2. การวางกฎเกณฑ์ ข้อบังคับและกรอบกฎหมาย 3. การเปิดโอกาสให้เอกชนขยายขอบเขตการประกอบธุรกิจ 4. การกำกับดูแลธุรกิจหลักทรัพย์และตลาดทุน 5. การติดต่อสัมพันธ์กับต่างประเทศ Intermediate Accounting I

  50. 3.6 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บทบาทและหน้าที่ของตลาดหลักทรัพย์ 1. เป็นศูนย์กลางซื้อขายหลักทรัพย์จดทะเบียน และพัฒนาระบบต่าง ๆ ที่ให้สะดวกในการซื้อขายหลักทรัพย์ 2. ดำเนินธุรกิจใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายหลักทรัพย์ เช่น เป็นสำนักหักบัญชี ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ นายทะเบียนหลักทรัพย์ 3. ดำเนินการตามตามความเห็นชอบของ กลต. Intermediate Accounting I

More Related