600 likes | 829 Views
TAIWAN Ilha Formosa. An introduction to Taiwan: culture and education system By Tina Ou Cultural Division, Taipei Economic & Cultural Office in Thailand. Where is Taiwan?. Taiwan. Thailand. Time Difference. 3.5 hours flight to Taiwan
E N D
TAIWANIlha Formosa An introduction to Taiwan: culture and education system By Tina Ou Cultural Division, Taipei Economic & Cultural Office in Thailand
Where is Taiwan? Taiwan Thailand
Time Difference • 3.5 hours flight to Taiwan • Time: GMT+7 hoursi.e. 6 a.m. in Thailand = 7 a.m. in Taiwan
Taipei Compare Sweet potato? A leaf? Ancient axe, Elephant ?
513,120 km2 • Pop. 67,422,887 • 122 people/km2 • Thai, with English as 1st Foreign lang. • Thai baht • 34,507 km2 • Pop. 23,046,177 • 668 people/km2 • Mandarin Chinese, Taiwanese, Hakka, Aborigine, with English as 1st Foreign lang. • New Taiwan Dollar(NT$)
Education is the road to knowledge, success, and the way to change your life and destiny
เป้าหมายนโยบายทางการศึกษาเป้าหมายนโยบายทางการศึกษา 1. ให้เด็กก่อนวัยเรียนเติบโตอย่างมีความสุข และมีสุขภาพที่แข็งแรง 2. นักเรียนชั้นปฐมวัย ได้เรียนหนังสืออย่างมีความสุขและมีชีวิตชีวา 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ได้พัฒนาความรู้รอบตัว หลากหลายสาขา 4. นักเรียนชั้นมัธยมปลาย ได้รับการศึกษา มีความสามารถรอบด้าน มีแรงบันดาลใจ 5. นักเรียนชั้นมัธยมตอนปลาย พัฒนาความรู้ความสามารถในด้านการตัดสินใจด้วยตนเอง 6. นักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย เรียนรู้ และมีความสามารถและเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน 7. นักศึกษาสายอาชีพ พัฒนาทักษะความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง 8. นักศึกษาระดับปริญญาโท-เอก รู้ลึกทางวิชาการ งานวิจัยโดดเด่น 9. ผู้ใหญ่ในสังคม ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีพ(การเรียนรู้ไม่มีที่สิ้นสุด) 10. สำหรับผู้อพยพใหม่ ให้ปรับตัวทางวัฒนธรรม เรียนรู้ทักษะความสามารถทั่วไป
การศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา • การศึกษาภาคบังคับ 9 ปี เริ่มตั้งแต่อายุ 6 ปี • - ระดับประถมศึกษา 6 ปี - ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี • อายุ 15 ปี นักเรียนคิดเป็นร้อยละ 95.7เลือกเรียนต่อในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (3 ปี) มัธยมศึกษาตอนปลาย สายอาชีพ (3 ปี)มัธยมศึกษาตอนปลายแบบประสม (เรียนทั้งด้านวิชาการและสายอาชีพ)(3 ปี) หรือสายอาชีพแบบ 5 ปี (ปวช.+ปวส.)
Ministry of Education Technological & Vocational education Department (TVE) Higher Education Department
ความเป็นมาของการศึกษาระดับอุดมศึกษาในไต้หวันความเป็นมาของการศึกษาระดับอุดมศึกษาในไต้หวัน • แต่เดิมจำกัดในวงอภิสิทธิ์ชน ขยายมาเป็น มวลชน • 1949— มหาวิทยาลัย 1 แห่ง และ 3 วิทยาลัย • 1953-โรงเรียนกฏหมายเอกชนแห่งแรก (เป็นวิทยาลัยเอกชนแห่งแรก) • 1974-มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแห่งแรก ระบบ สองแนวทาง • จากการควบคุมดูแล เป็น บริหารปกครองด้วยตนเอง • มหาวิทยาลัยกฏหมาย • อิสระทางวิชาการ
การศึกษาระดับอุดมศึกษาการศึกษาระดับอุดมศึกษา • มหาวิทยาลัยกำหนดระยะเวลาการศึกษา ในระดับปริญญาตรี 4 ปี ระดับปริญญาโท2-4 ปี และ ระดับปริญญาเอก 3-7 ปี • สถาบันเทคโนโลยี มีเปิดสอนในระดับปริญญาตรี 2 หรือ 4 ปี รวมถึงระดับปริญญาโทและปริญญาเอกหลักสูตรปกติก็เช่นเดียวกัน • นักเรียนชาวไต้หวันอย่างน้อย 85% เข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา
Major Of University/ Vocational/Technological University & College Students 2009
สถานะปัจจุบันของการศึกษาไต้หวันสถานะปัจจุบันของการศึกษาไต้หวัน 1.งบประมาณของการศึกษาระดับอุดมศึกษารวมในปี 2011 : 72,100 ล้านบาท * งบประมาณสำหรับด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์และ วัฒนธรรม คิดเป็น 20.4% 2.จำนวนมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทั้งหมด 165 แห่ง (2010) 3. จำนวนนักเรียนในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทั้งหมด 1.337ล้านคน 4. อัตราการสมัครเข้าเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาคิดเป็น 97%
ความแข็งแกร่งของการศึกษาระดับอุดมศึกษาในไต้หวันความแข็งแกร่งของการศึกษาระดับอุดมศึกษาในไต้หวัน ผลงานทางวิชาการ วิทยาศาสตร์การเกษตร เคมีกายภาพเวชศาสตร์คลินิกวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ วิศวกรรมศาสตร์สิ่งแวดล้อมอุปกรณ์เครื่องมือเภสัชวิทยา พิษวิทยา เป็นต้นในหลายตัวชี้วัด อาทิเช่น Essential Science Indicators(ESI) ผลงานทางวิชาการของไต้หวันติดอันดับอยู่ใน TOP100. ผลงานที่ประสบความสำเร็จ มีผลงานที่ประสบความสำเร็จในด้าน เทคโนโลยีดิจิตอล การแพทย์ทางกักกันโรค การเกษตรป่าไม้ อุตสาหกรรมประมงวิศวกรรมโยธา เป็นต้น ซึ่งล้วนเป็นที่ต้องการของเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ความแข็งแกร่ง ของการศึกษาระดับ อุดมศึกษาใน ไต้หวัน ผลงานด้านการวิจัยและพัฒนา ในด้านเวชศาสตร์ยา การพยาบาล เทคโนโลยีชีวภาพ เครื่องตรวจสอบความแม่นยำ สารกึ่งตัวนำ เครื่องหล่อพิมพ์ และในสาขาอื่นๆ ซึ่งนอกจากนี้ยังมีผลงานอื่นที่โดดเด่นอีกมากมาย บูรณาการกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
สาขาที่มีการแข่งขันมากที่สุดของไต้หวันสาขาที่มีการแข่งขันมากที่สุดของไต้หวัน • การเกษตรกรรม • การจัดการงานบริการ • วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ • ผลิตผลทางการประมง และการจัดการ(เทคโนโลยีอาหารทะเล) • อุตสาหกรรมการผลิตและการออกแบบ • บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตMBA (EMBA, IMBA) • โปรแกรมภาษาจีนประยุกต์ • เทคโนโลยีเวชศาสตร์ยาและการพยาบาล • ศิลปะและการออกแบบ
การเกษตรกรรม: ผลงานการวิจัยผลไม้เมืองร้อเน กว่า 400 สายพันธุ์ ของพืชพันธุ์ชนิดใหม่ ซึ่งเป็นตัวแทนของ 115 ชนิดสายพันธุ์ จาก 36 ตระกูลถูกคัดเลือกและนำมาปรับปรุงพันธุ์ แก้วมังกร เชอร์รี่บราซิล ลูกพลับขาว Star Apple Pulasan Abiu ลูกพลับสีดำ ขนุนจิ๋ว Ping-Po ( มะกอกชวา)
โครงการสร้างมหาวิทยาลัยชั้นนำระดับโลกโครงการสร้างมหาวิทยาลัยชั้นนำระดับโลก โครงการสร้างมหาวิทยาลัยชั้นนำระดับโลก ตั้งแต่ปี 2006กระทรวงศึกษาธิการไต้หวันได้ริเริ่มโครงการ 5 ปี 5 หมื่นล้าน ซึ่งได้กระจายงบประมาณไปยัง 17 มหาวิทยาลัย โดยโครงการใน 5 ปีแรกได้สิ้นสุดลงแล้ว โครงการ 5 ปี 5 หมื่นล้านได้เปลี่ยนชื่อโครงการเป็น โครงการสร้างมหาวิทยาลัยชั้นนำ โดยงบประมาณจะเริ่มตั้งแต่ 2011-2015 กระจายไปยัง 12 มหาวิทยาลัย 34 ศูนย์วิจัย
ขอบเขตสาขาที่จะให้เงินอุดหนุนทุกปีเพื่อการพัฒนา ของงวดแรกในขั้นที่หนึ่ง ของแต่ละสถาบัน part1
ขอบเขตสาขาที่จะให้เงินอุดหนุนทุกปีเพื่อการพัฒนา ของงวดแรกในขั้นที่สอง ของแต่ละสถาบัน
สถาบันการศึกษาไม่เพียงแต่ดำเนินงานวิจัยสถาบันการศึกษาไม่เพียงแต่ดำเนินงานวิจัย แผนการเรียนการสอนเป็นเลิศ • ให้ความสำคัญทางด้านการเรียนการสอน • อัพโหลดโครงสร้างหลักสูตรขึ้นเว็บไซต์ • มีระบบการสอนเพิ่มเติมพร้อมทั้งมีการช่วยเหลือด้านการเรียน • สำรวจแนวทางหลังจบการศึกษา • เยี่ยมชมติดตามหลักสูตรที่เปิดสอนในโรงเรียน ว่าด้านไหนได้ผลดีที่สุด • ดำเนินการประเมินอาจารย์ผู้สอน
ความร่วมมือทางการศึกษา และความร่วมมือทางอุตสาหกรรม (อาชีวศึกษา) • ความร่วมมือทางการศึกษา1.Sandwich program2.Rotation type cooperation • ความร่วมมือทางด้านอุตสาหกรรม1. คณาจารย์ลงพื้นที่เรียนรู้จากผู้ประกอบการ(งบประมาณ30 ล้านบาท)2. ผู้ประกอบการเข้ามาให้ความรู้ในมหาวิทยาลัย(งบประมาณ 80 ล้านบาท) • 3. พัฒนาด้านการวิจัยสนับสนุนให้นักเรียนสอบใบอนุญาต - การร่วมมือทางอุตสาหกรรม คือความร่วมมือจากผู้ประกอบการและสถาบันการศึกษา- การเรียนการสอนแบบ Sandwich program คือการให้นักศึกษาฝึกงานภาคสนามหนึ่ง ภาคการศึกษา ภาคการศึกษาต่อมาให้เรียนภาคทฤษฎี จากนั้นภาคการศึกษาต่อไปก็ให้กลับไปฝึกปฏิบัติจริงในภาคสนามอีกครั้ง- Rotation type cooperation คือแบ่งนักเรียนหนึ่งห้องเป็นสองกลุ่ม กลุ่มแรกให้ผึกปฏิบัติลงพื้นที่ อรกกลุ่มให้เรียนทฤษฎีที่สถาบัน ในเทอมถัดไปให้สลับกัน
ความเป็นสากล • One World • การแลกเปลี่ยน:คณาจารย์ นักเรียน • งานวิจัย • โครงการควบสองปริญญา
ปรับปรุงระบบประเมินผล เปลี่ยนเป็นระบบรับรองมาตรฐาน(accreditation) • โดยปกติ ระดับมหาวิทยาลัยใน 5 ปีจะมีการประเมินหนึ่งครั้ง โดยเป็นการประเมินตนเอง ในส่วนของอาชีวศึกษาประเมิน 4 ปีหนึ่งครั้ง • ปี พ.ศ.2557 จะใช้ระบบการรับรองมาตรฐานในช่วงระยะเวลาดำเนินการที่ค่อนข้างยาวนาน ทางสถาบันจะทำการพัฒนาระบบ • พิจารณาผลการใช้งานของระบบรับรองมาตรฐาน ตรวจสอบผลการประเมินตนเองของแต่ละสถาบัน และให้ปรับปรุงข้อด้อย • ส่งเสริมการประเมินคุณภาพครู ประเมินผลการเรียนการสอนของโรงเรียน • ดำเนินระบบตรวจสอบควบคุมจากภายในองค์กร สร้างมาตรฐานตามกระบวนการ SOP แสดงศักยภาพความสามารถในการบริหารจัดการแก้ไข
นโยบายบุคลากรทางการศึกษานโยบายบุคลากรทางการศึกษา
ส่งเสริมความแข็งแกร่งของระบบเงินเดือน รับสมัครบุคลากรที่มีความสามารถทางการวิจัยโดดเด่นในระดับสากล คุณประโยชน์ 1 รับสมัครบุคลากรระดับหัวกะทิ เข้ามาทำงานให้ประเทศในระยะยาว ความแข็งแกร่งของระบบเงินเดือน คุณประโยชน์ 2 เพิ่มเงินเดือนให้แก่บุคลากรปัจจุบันที่มีความสามารถโดดเด่น คุณประโยชน์ 3 ยกระดับขอบเขตเนื้อหา เพื่อการแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับสากล คุณประโยชน์ 4 ดึงดูดบุคลากรด้านธุรกิจการศึกษาในระดับสากล เพื่อยกระดับวิสัยทัศน์ของสถาบันการศึกษา
เพียบพร้อมไปด้วยอุปกรณ์ชั้นนำเพียบพร้อมไปด้วยอุปกรณ์ชั้นนำ ปริมาณหนังสือที่เก็บ รวบรวมไว้ทั้งหมด (เล่ม) 53,273,080 • ภายในสถาบันการศึกษาของไต้หวันประกอบไปด้วยทรัพยากรหนังสือที่หลากหลายรวมไปถึงเครือข่ายระบบข้อมูลที่นำสมัย • อิสระในการท่องโลกอินเทอร์เน็ต:นักศึกษาระดับมหาวิทยาลัยจะมีสิทธิที่จะท่องไปในโลกอินเทอร์เน็ตอย่างอิสระเต็มที่ ปริมาณหนังสือภาษาจีนที่เก็บ รวบรวมไว้ (เล่ม) 39,187,985 อัตราการยืมหนังสือ (เล่ม) 23,907,914 การตรวจสองฐานข้อมูล ออนไลน์และซีดีรอม (ครั้ง) 69,524,375
ด้านอาหารการกิน ในด้านอาหารการกิน ทั้งประเทศไทยและ ไต้หวันล้วนเป็นที่ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม และเป็นแหล่งอาหารที่มีความอุดมสมบูรณ์ ดังนั้น จึงมีหลายส่วนที่คล้ายคลึงกัน
ความคล้ายคลึงกันทางภาษา (The similarity of language) • ภาษามีความใกล้เคียงกัน มีคำศัพท์หลายคำที่ออกเสียงคล้ายภาษาไทย (ล้วนได้รับอิทธิพลมาจากภาษาจีน)เช่น ก๋วยเตี๋ยว (粿條) • นอกจากนี้ การออกเสียงทางภาษาศาสตร์ยังมีความคล้ายคลึงกัน ดังนั้นจึงมีคำที่เป็นการฝึกพูด เช่น คนไต้หวันมาเมืองไทย คำแรกที่มักจะหัดพูดกันเล่นๆคือ “ ไม่มี ไม่ใช่ ไม่ต้องกลัว ” เป็นการฝึกคำง่ายๆที่จำง่ายเพราะคำว่า ไม่มี ----- ในภาษาจีน 賣米ออกเสียง MAI-MEE แปลว่า ขายข้าวสาร ไม่ใช่ ----- ในภาษาจีน 賣菜 ออกเสียง MAI-CAI แปลว่า ขายผัก ไม่ต้องกลัว ----- ในภาษาจีน 賣冬瓜 ออกเสียง MAI-DONG-GUA แปลว่า ขายฟัก
เทศกาล Festivals วัฒนธรรมในไทยและไต้หวัน ถึงแม้จะมีความแตกต่าง แต่ก็มีความคล้ายคลึงกันอยู่ไม่น้อย โดยเฉพาะ วัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายจีน ในประเทศไทยซึ่งมีการเฉลิมฉลองเทศกาลตลอดทั้งปี เช่น เทศกาลตรุษจีน เทศกาลไหว้บะจ่าง เทศกาลไหว้พระจันทร์ เป็นต้น ซึ่งคนไทยจะมีความคุ้นเคยกับเทศกาลเหล่านี้เป็นอย่างดี
ศาสนาและความเชื่อ • ลัทธิเต๋า ขงจื่อ ศาสนาพุทธ 93% • พิธีเคารพบูชาบรรพบุรุษ • ศาสนาคริสต์ 5%
ผลสำเร็จทางด้านการศึกษาของไต้หวัน • อัตราประชากรอายุ 15ปีขึ้นไปที่ไม่รู้หนังสือมีเพียง 2.4 % เท่านั้น • รายงานประจำปี และการจัดอันดับ โดย Nationality in SCI ปี 2008 ไต้หวันอยู่ในลำดับที่ 16 ปี 2009 ไต้หวันอยู่ในลำดับที่ 17 • รายงานประจำปี และการจัดอันดับ ของ Nationality in EI ปี 2008 ไต้หวันอยู่ในลำดับที่ 10 ปี 2009 ไต้หวันอยู่ในลำดับที่ 10 • จากการจัดอันดับของนิตยสาร time’s มหาวิทยาลัยทางด้านวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีของไต้หวัน ติดอันดับใน top100 ของโลก เป็นจำนวนหลายแห่ง • World Competitiveness Yearbook 2010 จัดอันดับให้ไต้หวันอยู่ในอันดับ 8 ของโลก ในด้าน Management Development (IMD)