170 likes | 515 Views
การพัฒนาตาม Service Plan จ.อุตรดิตถ์ ปี ๒๕๕๗. ๑.ทบทวนคำสั่งคณะทำงานฯ จังหวัดอุตรดิตถ์ ปี ๒๕๕๗ ๒.คณะทำงานฯ ระดับจังหวัด ๑๑ สาขา ประชุมระหว่างวันที่ ๗ - ๒๖ พ.ย. ๒๕๕๖ ๒.๑สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดในการพัฒนา Service Plan ปี ๒๕๕๖
E N D
การพัฒนาตาม Service Plan จ.อุตรดิตถ์ปี ๒๕๕๗
๑.ทบทวนคำสั่งคณะทำงานฯ จังหวัดอุตรดิตถ์ ปี ๒๕๕๗ ๒.คณะทำงานฯ ระดับจังหวัด ๑๑ สาขา ประชุมระหว่างวันที่ ๗ - ๒๖ พ.ย. ๒๕๕๖ ๒.๑สรุปผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดในการพัฒนา Service Plan ปี ๒๕๕๖ ๒.๒พิจารณาทบทวนแผน Service Plan จังหวัดอุตรดิตถ์ ปี ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ จำแนกรายสาขาและแผนการดำเนินงาน/เป้าหมายตัวชี้วัด ปี ๒๕๕๗ ๓.คณะทำงานฯ ระดับจังหวัด ๑๑ สาขา สรุปผลลัพธ์การดำเนินงานตัวชี้วัดตาม Service Plan และแผนการดำเนินงาน/เป้าหมายตัวชี้วัดการพัฒนาฯ ปี ๒๕๕๗ (วันที่ ๑๖ ธ.ค. ๒๕๕๖) ๔.คณะทำงานพิจารณาจัดสรรงบตามผลผลิต กิจกรรม Service Plan ปี 2557 (วันที่ ๒๐ ม.ค. ๒๕๕๗) และคณะอนุกรรมการฯ/ประธาน/เลขาฯรายสาขาพิจารณาแผน/งบประมาณ (วันที่ ๒๒-๒๓ม.ค. ๒๕๕๗) ๕.คณะทำงานพิจารณา/สรุปอนุมัติจัดสรรงบตามผลผลิต กิจกรรม Service Plan ปี 2557 (วันที่ ๒๔ ม.ค. ๒๕๕๗) การดำเนินงาน Service Plan ปี ๒๕๕๗
ลดอัตราการเสียชีวิตด้านโรคหัวใจและหลอดเลือด และลดภาวะแทรกซ้อน เน้นที่ STEMI/Non- STEMI,Open Heart สาขาที่ 1 โรคหัวใจและหลอดเลือด ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด / หัตถการ เป้าหมายการดูแลต่อเนื่อง เป้าหมาย stemi เป้าหมาย Warfarin Clinic • 1.อัตราตาย STEMI < 15 % • 2. ผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดภายใน • 30 นาทีเพิ่มขึ้น 10 % (ปัจจุบัน 40.44 %) • 1.ร้อยละของ รพช. ที่มีWarfarinClinic • 2. ร้อยละของ รพช. ที่มีค่า Target INR > 50 % KPI เพิ่มบริการดูแลต่อเนื่อง (Warfarin & Heart failure clinic,Cardiac Rehab พัฒนาศักยภาพ รพช. ให้สามารถให้ยา ละลายลิ่มเลือดได้ / พัฒนารพช. ให้มีคลินิกWarfarin 1. ส่งข้อมูลผ่าน Home Health Care 2. พัฒนาการเก็บตัวชี้วัดทาง E-Mail 3. ทบทวนการดูแลผู้ป่วยโดย Conference โครงการพัฒนาระบบบริการโรคหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสมอง จ.อุตรดิตถ์ ปี 2557 งบประมาณ 250,800 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน
อัตราการเกิดมะเร็งรายใหม่ ลดลง สาขาที่ 2 โรคมะเร็ง รพท. ให้ยาเคมีบำบัดในกลุ่ม Antracyclineได้ เป้าประสงค์ที่ 3 เป้าประสงค์ที่ 1 เป้าประสงค์ที่ 2 2. พัฒนาระบบบุคลากรสหวิชาชีพให้เหมาะสมทุกระดับ 1. พัฒนาระบบบริการการรักษาโรคมะเร็งในทุกระดับและลด Refer out นอกเขต การคัดกรองมะเร็งเต้านม ปากมดลูก มะเร็งลำไส้ใหญ่เพิ่มขึ้นอัตราการเกิดมะเร็งรายใหม่ ลดลง KPI รพ.ระดับ M 2 สามารถให้เคมีบำบัดต่อเนื่องได้ 3. พัฒนาระบบสารสนเทศและการส่งต่อ โครงการพัฒนาระบบโรคมะเร็ง งบประมาณ 263,000 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน
มีระบบการให้บริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพมีระบบการให้บริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพ สาขาที่ 3 ด้านอุบัติเหตุ *มีระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน *มีระบบส่งต่อที่มีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 4,5 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2,3 1.การพัฒนาระบบฐานข้อมูลการเฝ้าระวังการบาดเจ็บ (IS) 2.การพัฒนาระบบการให้บริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพ 3.การเสริมสร้างระบบบริการสุขภาพด้านอุบัติเหตุให้มีมาตรฐานในทุกระดับ มีข้อมูลการเฝ้าระวังการบาดเจ็บ (IS) ที่ครบถ้วน ถูกต้อง และมีการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการพัฒนาร่วมกับหน่วยงานอื่น KPI มีระบบฟื้นฟูผู้บาดเจ็บเมื่อพ้นวิกฤตที่มีประสิทธิภาพ 3.การพัฒนาระบบส่งต่อที่มีคุณภาพไร้รอยต่อ 4. การพัฒนาระบบฟื้นฟูผู้บาดเจ็บเมื่อพ้นวิกฤตที่มีประสิทธิภาพ 1.โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการเฝ้าระวังการบาดเจ็บ จำนวน 33,700 บาท 2.โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้บาดเจ็บก่อนถึง รพ. (Pre-hospital) จำนวน 99,900 บาท 3.โครงการพัฒนาศักยภาพบุคาลากรในการดูแลผู้บาดเจ็บในเครือข่ายบริการ จ.อุตรดิตถ์ จำนวน 55,900 บาท งบประมาณ 189,500 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน
* แก้ปัญหาปี 2556 โดยเชื่อมโยงกับงานอนามัยแม่และเด็กทั้งจังหวัดเน้นการฝากครรภ์และการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ * มีจัดอบรม neonatal transport service, follow up program for high risk newborn, universal hearing screening สาขาที่ 4 ทารกแรกเกิด เป้าประสงค์ที่ 3,4 เป้าประสงค์ที่ 1 เป้าประสงค์ที่ 2 1. บูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อ พัฒนาระบบการดูแลทารกแรกเกิดปกติ และทารกเกิดจากมารดากลุ่มเสี่ยงต่อการคลอดก่อน 2. พัฒนาความรู้ ความสามารถของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ในแต่ละระดับสถานบริการ KPI * การอบรมพัฒนาศักยภาพ เช่น newborn CPR * ปรับปรุงตึก NICU 3. พัฒนาระบบสารสนเทศ ระบบการส่งต่อเพื่อการจัดการและบริการที่มีประสิทธิภาพ 4.เสริมสร้างภาคีเครือข่าย 4.โครงการฝากครรภ์คุณภาพและการประเมินหญิงตั้งครรภ์กลุ่มเสี่ยงเพื่อการส่งต่อ จำนวน 36,440 บาท 2.โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรดูแลทารกระหว่างการส่งต่อด้วยความปลอดภัย จำนวน 10,000 บาท 1.โครงการศึกษาดูงานอนามัยหญิงตั้งครรภ์และงานห้องคลอดโรงพยาบาลลำพูน จำนวน 32,750 บาท 3.โครงการ การดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะน้ำเดินก่อนกำหนด จำนวน 30,590 บาท 6โครงการประชุมเครือข่ายทารกแรกเกิดโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ จำนวน 21,885 บาท 5.โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิด จำนวน 39,240 บาท งบประมาณ 170,905 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน
1.มาตรฐานการบริการ 4.ลดอัตราตาย สาขาที่ 5 ด้านสุขภาพจิตและจิตเวช ยุทธศาสตร์ที่ 3,4 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชให้ได้มาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ 2. พัฒนาการให้บริการตามมาตรฐานงานสุขภาพจิตและจิตเวชในทุกระดับ โดยส่งเสริมการผลิต แลกเปลี่ยน และพัฒนาบุคลากรให้เหมาะสมต่อการบริการ 2.เข้าถึงบริการ 3.ลดอัตราป่วย KPI 5.ลดค่าใช้จ่าย 3.พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและบริการสุขภาพจิตที่มีประสิทธิภาพ 4.เสริมสร้างภาคีเครือข่ายสุขภาพจิต โครงการพัฒนาการดำเนินงานสุขภาพจิตและจิตเวช จังหวัดอุตรดิตถ์ ปี 2557 งบประมาณ 428,185 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน
คัดกรองโรคต้อกระจกในประชาชนคัดกรองโรคต้อกระจกในประชาชน • อายุ 60 ปีขึ้นไปอย่างน้อยร้อยละ 75 • การคัดกรองการเกิดโรคไต • ในประชากรกลุ่มเสี่ยง สาขาที่ 6 จักษุและไต ตัวชี้วัดด้านไต ตัวชี้วัดด้านจักษุ ตัวชี้วัดด้านจักษุ 1. ความครอบคลุมในการคัดกรองเบาหวานขึ้นจอประสาทตา (%) 2.ผู้ป่วย PDR หรือ CSME ได้รับการรักษาด้วย laser ภายใน 30 วัน (%) 3.อัตราการคัดกรอง วัดสายตา (VA) ในประชากร ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป (%) - blinding cataract ได้รับการผ่าตัด ภายใน 30 วัน - low vision cataract ได้รับการผ่าตัดภายใน 90 วัน KPI การเข้าถึงบริการทดแทนไต * การชะลอการเสื่อมของไต 1.มี CKD Clinic ตั้งแต่ระดับ F1 ขึ้นไป ภายใน ปี 2557 2. คิวบริการ HD มีบริการอย่างไม่มีคิวภายใน 3 ปี 3. ลดจำนวนผู้ป่วยไตวายที่ต้องบำบัดทดแทนไต 4. ลดจำนวนผู้ป่วยไตวายเรื้อรังรายใหม่ ด้านจักษุ : โครงการพัฒนาการตรวจคัดกรองตาต้อกระจก จำนวน 130,000 บาท ด้านไต : โครงการพัฒนาระบบโรคไต จำนวน 70,000 บาท งบประมาณ 200,000 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน
1. ผู้ป่วยผ่าตัดคลอดบุตร ในรพช.เพิ่มขึ้น 2. ผู้ป่วยที่ต้องการผ่าตัดไส้ติ่งอักเสบ/ ไส้เลื่อน ใน รพช. เพิ่มขึ้น สาขาที่ 7 ด้าน 5 สาขาหลัก (สูติ ศัลย์ อายุรกรรม กุมาร ออร์โธปิดิกส์) 4. เพิ่มการ Refer ผู้ป่วยกลับไป รพช. ใกล้บ้านในpt .โรคเรื้อรัง/นอนนาน เป้าหมายที่ 5,6 เป้าหมายที่ 1,2 เป้าหมายที่ 3,4 1. พัฒนาพัฒนาการดูแลรักษาผู้ป่วยผ่าตัดคลอดบุตร (สูติกรรม) 2. ฟื้นฟูการบริการด้านศัลยกรรมในโรงพยาบาลชุมชน 3. พัฒนารพช. สามารถดูแลผู้ป่วย Stoke และ Head Injuryได้ (ด้านศัลยกรรม) 4. ขยายขอบเขตการให้บริการผู้ป่วยโรคทางอายุรกรรม ไปยัง รพช. 3. การ D/C pt .ที่พร้อมกลับภายใน 7 วันจากรพศ. ไป รพช. / จำนวนวันนอนเฉลี่ยน้อยกว่า 7 วัน ในรพศ.อต. 5. การเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยDHF.(กุมาร)ที่ส่งต่อจากรพช.=0 6. การส่งกลับผู้ป่วยศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ดูแลต่อใน รพช. เพิ่มขึ้น KPI 5.พัฒนา รพช.ในการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก ในพื้นที่(ด้านกุมาร) 6.พัฒนาดูแลผู้ป่วยศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์ระหว่างส่งต่อ ด้านศัลยกรรม: - 2 โครงการ - ใช้งบ 84,680 บาท ด้านอายุรกรรม: - 2 โครงการ - ใช้งบ 98,240 บาท ด้านสูติกรรม : - 2 โครงการ - ใช้งบ 100,000บาท ด้านกุมารเวชกรรม: - 2 โครงการ - ใช้งบ 39,990 บาท ด้านออร์โธปิดิกส์: - 1 โครงการ - ใช้งบ 40,000 บาท งบประมาณ 362,910 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน
1.อัตราฟันผุในเด็ก 3 ปี 3.พัฒนาสถานบริการทุกระดับให้มีศักยภาพในการให้บริการ ด้านทันตกรรม สาขาที่ 8 กลุ่มบริการทันตกรรม ตัวชี้ดที่ 4,5 ตัวชี้วัดที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 2,3 1.เด็กอายุ 3 ปี มีอัตราฟันผุไม่เกิน ร้อยละ 57 2.เด็กอายุ 12 ปี มี สภาวะปราศจากฟันผุ มากกว่าร้อยละ 45 3.รพ.สต./ศสม. ที่ให้บริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ ร้อยละ 50 2.สภาวะปราศจากฟันผุ ในเด็ก 12 ปี KPI 4.ทุกสถานบริการมีระยะเวลารอคอยใส่ฟันเทียมของผู้สูงอายุ ไม่เกิน 6เดือน 4. พัฒนาศักยภาพสถานบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ 5. ลดระยะเวลารอคอยใส่ฟันเทียมผู้สูงอายุ โครงการแก้ไขปัญหาทันตสาธาณสุข Service Plan สาขาทันตกรรมเครือข่ายบริการสุขภาพ เขต 2 ปี 2557 งบ 200,000 บาท(งบ สป.ตาม ผ./ก.) โครงการสนับสนุนการดำเนินงานทันตสาธารณสุขระดับจังหวัด ปี 2557 งบ 92,360 บาท(งบPPD.) Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน
1.ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว(ขาขาด) ได้รับบริการครบถ้วน 3.ผู้ป่วย stroke หรือ โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต สาขาที่ 9 ด้านเวชกรรมฟื้นฟู เป้าประสงค์ที่ 3 เป้าประสงค์ที่ 1 เป้าประสงค์ที่ 2 • พัฒนาระบบบริการฟื้นฟู • รวมทั้งการให้การปรึกษาและการส่งต่อ 1 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านเวชกรรมฟื้นฟู 2.ผู้ป่วยที่มีความพิการทางการเคลื่อนไหวอื่นๆ KPI 4.กลุ่มผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 3. พัฒนาระบบบริการเวชกรรมฟื้นฟูในชุมชน โครงการพัฒนาระบบบริการด้านเวชกรรมฟื้นฟูจังหวัดอุตรดิตถ์ ปี 2557 จำนวน 60,000 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน งบประมาณ 60,000 บาท (งบ สป.ตาม ผ./ก.)
1. การพัฒนาการให้บริการทางห้องปฏิบัติการ 4. การพัฒนาระบบส่งต่อ 5. การพัฒนาระบบสารสนเทศ สาขาที่ 9 ด้านชันสูตร เป้าประสงค์ที่ 3 เป้าประสงค์ที่ 1 เป้าประสงค์ที่ 2 • พัฒนาศักยภาพการให้บริการทางห้องปฏิบัติการ 2.พัฒนาศักยภาพบุคลากร ด้านเวชกรรมฟื้นฟู 2. การพัฒนาระบบคุณภาพและมาตรฐาน 3. การพัฒนาบุคลากร KPI 6.การพัฒนาตามนโยบายลดต้นทุน 3. พัฒนาระบบบริการเวชกรรมฟื้นฟูในชุมชน 3.โครงการอบรมแนวทางการตรวจประเมินห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุข จำนวน 18,450 บาท 1.โครงการควบคุมคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ จำนวน 103,250 บาท 2.โครงการควบคุมคุณภาพห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ จำนวน 103,250 บาท งบประมาณ 140,000 บาท Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน
2. บุคลากรมีสมรรถนะเหมาะสม สาขาที่ 9 ด้านแพทย์แผนไทย เป้าหมายที่ 3 เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 2 1.ปรับระบบบริการการแพทย์แผนไทย ให้ได้มาตรฐาน 2. พัฒนาบุคลากรการแพทย์แผนไทย ให้มีความรู้ ความมั่นใจ อย่างมีศักดิ์ศรี 1.คลินิกบริการแพทย์แผนไทย KPI 3.ระบบยาที่เอื้อต่อการจัดบริการแพทย์แผนไทย 3.ส่งเสริมการผลิตยาแผนไทยและพัฒนาระบบยาแผนไทยให้ได้มาตรฐาน โครงการคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ปี ๒๕๕๗ งบประมาณ 200,000 บาท (งบ สปสช.) Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน
1.พัฒนาระบบการคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง / การคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย 4.พัฒนาศักยภาพ จนท.สธ.ในด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(Coacher) สาขาที่ 10 โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(ncd) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค โดยการจัด บริการอย่างมีคุณภาพและการมีส่วนร่วม ของภาคีเครือข่าย KPI 2.พัฒนาศักยภาพ อสม.ในการคัดกรอง/ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย 3.พัฒนาระบบฐานข้อมูล 5.พัฒนาคลินิก NCD คุณภาพ การบริหารจัดการด้านสุขภาพ โครงการบูรณาการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จ.อุตรดิตถ์ ปี 2557 Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน งบประมาณ 200,000 บาท
ผู้พิการผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียงได้รับการเยี่ยมบ้านผู้พิการผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียงได้รับการเยี่ยมบ้าน พัฒนาศักยภาพการให้บริการ ในการเขตเมือง /หน่วยบริการปฐมภูมิมีศักยภาพในการบริการประชาชนตามเกณฑ์มาตรฐาน สาขาที่ 11 บริการเขตเมืองและปฐมภูมิ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ที่ 1,2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 3.บริหารจัดการทรัพยากรบุคคลให้เหมาะสมเพียงพอ และพัฒนาระบบการจัดการความรู้ 1.พัฒนาศักยภาพ หน่วยบริการปฐมภูมิ อย่างสอดคล้องกับบริบทและความต้องการ 2.พัฒนาโครงสร้างและการบริหารจัดการในรูปแบบเครือข่ายที่ชัดเจน KPI หน่วยบริการปฐมภูมิผ่านการประเมินคุณภาพบริการโดยทีมสหวิชาชีพและผ่านมาตรฐานบริการตามวิชาชีพ พัฒนามาตรฐานทีมสหวิชาชีพในการ ให้การพยาบาลในชุมชน 4.พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินภารกิจ และการบริหารจัดการ โครงการสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตเมืองและปฐมภูมิ จังหวัดอุตรดิตถ์ ปี ๒๕๕๗ งบประมาณ 250,000 บาท(งบ PPD.) Monitoring & Evaluation ทุก 2 เดือน
ปัจจัยความสำเร็จ / ปัญหาอุปสรรค ผู้บริหารฯ จังหวัด/อำเภอ ให้ความสำคัญ นโยบายกระทรวงฯ /เน้นขับเคลื่อนทุกระดับ ปัจจัยความสำเร็จ แนวทางการจัดสรรงบจากเขตฯ (ไม่ชัดเจน) คณะทำงานฯ ประธาน/เลขาฯ ระดับจังหวัด ปัญหาอุปสรรค ด้านกำลังคนไม่เพียงพอ ตามภารงาน (ปัจจุบันมีตามGIS) การนำแผนสู่การปฏิบัติ(Implement) /ศักยภาพ รพ. และคน รองรับพัฒนาตามแผนฯ งบลงทุนตามแผนฯ (ปัญหาความเป็นไปได้ของแผนฯ)