970 likes | 1.11k Views
คุณภาพสังคมในประเทศไทย Social Quality in Thailand. Thawilwadee Bureekul King Prajadhipok’s Institute, Thailand. Thailand Social Quality Network. King Prajadhipok’s Institute National Institute of Development Administration Chulalongkorn University. แนวคิด Conceptual Framework.
E N D
คุณภาพสังคมในประเทศไทยSocial Quality in Thailand ThawilwadeeBureekul King Prajadhipok’s Institute, Thailand
Thailand Social Quality Network • King Prajadhipok’s Institute • National Institute of Development Administration • Chulalongkorn University
แนวคิดConceptual Framework • The European Foundation on Social Quality (Beck, Van der Maeson, and et.al. 2001) • The Asian Social Quality Network
คุณภาพสังคม • เรื่องที่ประชาชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในชีวิตทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ รวมทั้งการพัฒนาชุมชนภายใต้การเสริมสร้างความเป็นอยู่ที่ดีและการมีศักยภาพของตนเอง
เป็นเรื่องของ “พลเมือง “ หรือ citizens) มากกว่าเรื่อง ปัจเจก หรือ individuals • เป็นแนวคิดแบบบูรณาการของเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพของชีวิตมนุษย์ • เป็นเรื่องของการตระหนักตน • การมีส่วนร่วมในการสร้างอัตลักษณ์ที่มีผลต่อชีวิตประจำวัน และเป็นไปตามศักยภาพของแต่ละคน
คุณภาพสังคม • เป็นเครื่องมือทางปัญญาที่อธิบายประเด็นทางสังคม • เป็นแนวทางในการกำหนดนโยบายเพื่อแก้ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคมนั้นๆ • เป็นเรื่องที่ต้องมีการสำรวจบริบททางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม
คุณภาพสังคม • เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ และการปฏิบัติต่อกัน • รวมการปฏิบัติในฐานะของการเป็นพลเมืองที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับเรื่องสถาบันการเมืองและองค์การต่างๆทางสังคม ตลอดจนพื้นที่ทางสังคม มีความสำคัญและมีอิทธิพลต่อชีวิตประจำวันของประชาชน
การพัฒนาการกระจายความเป็นธรรม (redistributive justice) • คงไว้ซึ่งความรู้สึกของการเป็นสังคม (sense of society) ที่ต้องเรียกร้องให้เกิดนโยบายที่เป็นกฎของสังคม • เป็นเรื่องของความสัมพันธ์ การเสวนา การปฏิบัติต่อกันของเพื่อนมนุษย์ เป็นเครื่องมือทางการเมืองที่ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนความสนใจของปัจเจกเป็นความสนใจส่วนรวม เป็นเรื่องสาธารณะ
คุณภาพสังคมจึงเป็นการมองสังคมใหม่และใช้ปัญญาไตร่ตรองมากขึ้นคุณภาพสังคมจึงเป็นการมองสังคมใหม่และใช้ปัญญาไตร่ตรองมากขึ้น
การนำเสนอ • ศึกษาระดับคุณภาพสังคมโดยทั่วไปของไทย โดยใช้ตัวชี้วัดของACSQ ในมิติต่างๆ • ทำอย่างไรจึงจะมีคุณภาพสังคม
socio-economic security 1 social inclusion 2 3 3 social empowerment 4 4 มิติ ต่างๆของ คุณภาพสังคมDimensions of Social Quality social cohesion
ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ( Socio – Economic Security ) • เป็นเรื่องการที่ประชาชนมีความมั่นคงทางทรัพยากร รวมถึงทรัพยากรทางการเงิน ที่อยู่อาศัย การดูแลสุขภาพ และการจ้างงาน
ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม (Socio-economic Security) • การมีรายได้เพียงพอที่จะดำรงชีวิตอยู่ได้และดูแลครอบครัว • การมีสุขภาพดี • มีสภาพแวดล้อมที่ดี • ได้รับสวัสดิการในการทำงานที่ไม่ต้องกังวลต้องมาดูแลเอง • และมีเวลาสำหรับช่วยผู้อื่น
Social inclusion • เป็นเรื่องที่ประชาชนจำเป็นต้องเข้าถึงและเข้าร่วมในสถาบันต่างๆ • รวมทั้งความสัมพันธ์ทางสังคมในชีวิตประจำวัน การเข้าถึงการบริการทางสังคมเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างมากสำหรับผู้ขาดแคลนทรัพยากร ซึ่งทรัพยากรสามารถช่วยเหลือผู้ขาดแคลนให้กลับสู่เส้นทางหลักของสังคมได้อีกครั้ง (Chan, Raymond K.H., 2007: 50)
เป็นการมีสิทธิในฐานะพลเมือง โดยไม่ถูกแบ่งแยกออกจากสังคมด้วยเหตุผลใดๆ • และยอมรับความแตกต่างด้วย รวมทั้ง ชาติพันธุ์ สถานะทางเพศ อายุ อาชีพ สถานะทางเศรษฐกิจ ตลอดจนมีการให้บริการสาธารณะที่ช่วยผู้ด้อยโอกาสได้มีโอกาสมากขึ้นและเข้าถึงการบริการ ให้สามารถเข้าสู่สังคมได้
ความสามัคคีในสังคม (Social Cohesion) • เป็นการแสดงถึงความสัมพันธ์ในสังคม ค่านิยม บรรทัดฐานและการยอมรับการกระทำเพื่อส่วนรวม • ทั้งนี้ ความสามัคคีในสังคมรวมความเชื่อมั่นไว้วางใจกัน รวมการสร้างเครือข่ายทางสังคม และการมีอัตลักษณ์
เป็นเรื่องของการมีคุณสมบัติของการสร้างความสมานฉันท์ • ยอมรับการอยู่ร่วมกับผู้อื่น • การเข้าไปใช้ชีวิตสาธารณะร่วมกับผู้อื่นได้ โดยรวมกลุ่มทำกิจกรรม มีการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น โดยไม่มีความตึงเครียดในระหว่างคนต่างสถานภาพ รวมทั้งยอมเสียสละเวลา ทรัพยากรส่วนตัวเพื่อส่วนรวมได้
การเสริมสร้างพลังทางสังคม (Social Empowerment) • เป็นการพัฒนาศักยภาพของบุคคล ให้สามารถเข้าสู่สังคม เข้าถึงการบริการสาธารณะ รวมถึงการให้สิทธิ เสรีภาพในการแสดงออก และความคิดเห็นได้รับการตอบสนอง การเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองในรูปแบบต่างๆได้ ตลอดจนมีการเสริมสร้างวัฒนธรรมที่ดีงาม การสร้างคุณค่าให้ตัวเองและผู้อื่น
ข้อมูลเพื่อช่วยอธิบายคุณภาพสังคมในประเทศไทยข้อมูลเพื่อช่วยอธิบายคุณภาพสังคมในประเทศไทย • จากผลสำรวจของสถาบันพระปกเกล้า • ข้อมูลสำหรับผลการวิเคราะห์นี้ได้นำมาจากกลุ่มตัวอย่างในประเทศไทย ผลสำรวจล่าสุดจัดทำเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม – 10 พฤศจิกายน 2552 • โดยใช้การสุ่มแบบหลายขั้นตอน • กลุ่มตัวอย่างคือบุคคลที่มีสิทธิ์เลือกตั้ง หรือบุคคลที่อายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป • การสุ่มตัวอย่างแบบ 4 ขั้นตอนขึ้นอยู่กับจังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน ชุมชน และลงมาถึงกลุ่มตัวอย่าง จำนวนของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดคือ 1,200
ข้อมูลที่สถาบันพระปกเกล้าทำการสำรวจมาหลายปีในเรื่องการเป็นประชาธิปไตย (ตั้งแต่ พ.ศ. 2543 ถึง 2553) ประกอบ
เหตุการณ์และสถานการณ์ที่เกิดขึ้นกับประชาชนในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา –สังคม
โอกาสที่จะต้องออกจากที่อยู่ภายใน 6 เดือน เพราะไม่สามารถรับภาระได้อีก 6.9% 6.9% ต้องย้ายที่อยู่
เข้าถึงการบริการสุขภาพ Difficulties to see the doctors รอนาน
Socio-economic security Program provided 2004 Health care 1/5 get maternity Leave 1% get day care saving Waiting time delay unsatisfaction 50% just get by health condition condition Solid waste Water quality crime Safety at work medical expense 80.5 % are in good health
Environmental management Socio-economic security the extent to which people have resources over time Need more caring safety More doctors Day care saving
การเชื่อมั่นในตัวผู้อื่น • การเชื่อมั่นต่อองค์กร / สถาบัน • การยอมรับผู้อื่น • การเป็นสมาชิกกลุ่ม • ชาตินิยม และมีอัตลักษณ์ • การติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น • การไม่มีความตึงเครียดระหว่างคนต่างสถานะ • การยอมรับการอยู่ร่วมกับผู้อื่น • ความเข้าอกเข้าใจผู้อื่น • การเสียสละเพื่อส่วนรวม
ความเชื่อมั่น ไว้วางใจ • เป็นองค์ประกอบสำคัญในการสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาธิปไตย เนื่องจากประชาธิปไตยนั้นขึ้นอยู่กับการที่ประชาชนยินดีที่จะมอบชะตาชีวิตของตนเองไว้ในมือของผู้อื่น
เชื่อมั่น ไว้วางใจผู้อื่น • Extent to which ‘most people can be trusted’. • คนส่วนใหญ่ไว้ใจได้
เชื่อมั่น ไว้วางใจผู้อื่น Trust in people from 2002-2010 (percent)
ไว้วางกลุ่มต่างๆ Trust various groups of people คนแปลกหน้า ครอบครัว
เชื่อมั่นในสถาบันต่างๆ Trust institutions
ร้อยละของประชาชน จำแนกตามความคิดเห็นเกี่ยวกับความเชื่อมั่นต่อการทำงานของ คณะบุคคล/สถาบัน/หน่วยงานต่างๆ
เชื่อมั่นคณะรัฐมนตรี Trust in cabinet
เชื่อมั่นพรรคการเมืองTrust in Political Parties
เชื่อมั่นองค์กรอิสระ Trust in Independent Organizations