600 likes | 3.45k Views
แบบประเมินมาตรฐาน Vineland Adaptive Behavior Scales (VABS). บรรยายโดย ผศ . ดร. นันทณี เสถียรศักดิ์พงศ์. วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาและฝึกหัดเพิ่มเติม นักศึกษา. อธิบายได้ถึงความเป็นมาและคุณสมบัติของแบบประเมิน VABS อธิบายวิธีการใช้แบบประเมิน VABS อธิบายวิธีการแปลผลและสรุปผล
E N D
แบบประเมินมาตรฐานVineland Adaptive Behavior Scales (VABS) บรรยายโดย ผศ.ดร. นันทณี เสถียรศักดิ์พงศ์
วัตถุประสงค์ เมื่อศึกษาและฝึกหัดเพิ่มเติม นักศึกษา • อธิบายได้ถึงความเป็นมาและคุณสมบัติของแบบประเมิน VABS • อธิบายวิธีการใช้แบบประเมิน VABS • อธิบายวิธีการแปลผลและสรุปผล • อธิบายถึงข้อดีและข้อจำกัดของแบบประเมิน VABS • สามารถนำแบบประเมินไปใช้ในคลินิก
เนื้อหา 1. ความเป็นมาและคุณสมบัติของแบบประเมิน VABS 2. วิธีการใช้แบบประเมิน VABS 3. วิธีการแปลผลและสรุปผลจากแบบประเมิน VABS 4. ข้อดีและข้อจำกัดของแบบประเมิน VABS
แบบประเมินมาตรฐานวายน์แลนด์ หรือแวบส์ ความเป็นมา • พัฒนาขึ้นโดย Sparrow, Balla และ Cicchetti ในปี ค.ศ. 1984 • นำเอาแบบทดสอบ Vineland Social Maturity Scale ของ Doll ปี ค.ศ.1935-1965 มาปรับปรุง
แบบประเมินมาตรฐานวายน์แลนด์ หรือแวบส์ • แบบประเมินวายน์แลนด์ฉบับ Interview Edition, Survey Form • ประกอบด้วยข้อคำถาม 297 ข้อ • ใช้ประเมินบุคคลตั้งแต่อายุ 0 ปี – 18 ปี 11 เดือน • ใช้ประเมินทักษะในการดำรงชีวิตของบุคคล 4 ด้าน • ทักษะความสามารถในแต่ละด้านแบ่งเป็นหัวข้อย่อย ๆ ดังนี้คือ • 1. ด้านการติดต่อสื่อสาร (Communication Domain) แบ่งเป็น 3 หัวข้อย่อย คือ • 1.1 ด้านการรับรู้และเข้าใจภาษา (Receptive) • 1.2 ด้านการแสดงออกทางภาษา (Expressive) • 1.3 ด้านการเขียน (Written) • 2. ด้านกิจวัตรประจำวัน (Daily Living Skills) แบ่งเป็น 3 หัวข้อย่อย คือ • 2.1 ด้านกิจกรรมส่วนบุคคล (Personal) • 2.2 ด้านการทำงานบ้าน (Domestic) • 2.3 ด้านพฤติกรรมในชุมชน (Community) • 3. ด้านการเข้าสังคม (Socialization Domain) แบ่งเป็น 3 หัวข้อย่อย คือ • 3.1 ด้านการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น (Interpersonal Relationships) • 3.2 ด้านการเล่นและการใช้เวลายามว่าง (Play and leiture time) • 3.3 ด้านทักษะการจัดการ (Coping Skills) • 4. ด้านทักษะการเคลื่อนไหว (Motor Skill Domain) แบ่งเป็น 2 หัวข้อย่อย คือ • 4.1 ด้านการทำงานของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (Gross motor) • 4.2 ด้านการทำงานของกล้ามเนื้อมัดเล็ก (Fine motor)
ทักษะในการดำรงชีวิตของบุคคล 4 ด้าน 1. ด้านการติดต่อสื่อสาร (Communication Domain) 2. ด้านกิจวัตรประจำวัน (Daily Living Skills Domain) 3. ด้านการเข้าสังคม (Socialization Domain) 4. ด้านทักษะการเคลื่อนไหว (Motor Skills Domain)
ด้านการติดต่อสื่อสาร (Communication Domain) แบ่งเป็น 3 หัวข้อย่อย คือ 1.1 ด้านการรับรู้และเข้าใจภาษา (Receptive) 1.2 ด้านการแสดงออกทางภาษา (Expressive) 1.3 ด้านการเขียน (Written)
ด้านกิจวัตรประจำวัน (Daily Living Skills) แบ่งเป็น 3 หัวข้อย่อย คือ 2.1 ด้านกิจกรรมส่วนบุคคล (Personal) 2.2ด้านการทำงานบ้าน (Domestic) 2.3 ด้านพฤติกรรมในชุมชน (Community)
3. ด้านการเข้าสังคม (Socialization Domain)แบ่งเป็น 3 หัวข้อย่อย คือ 3.1 ด้านการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น (Interpersonal Relationships) 3.2 ด้านการเล่นและการใช้เวลายามว่าง (Play and leisure time) 3.3 ด้านทักษะการจัดการ (Coping Skills)
ด้านทักษะการเคลื่อนไหว (Motor Skill Domain) แบ่งเป็น 2 หัวข้อย่อย คือ 4.1 ด้านการทำงานของกล้ามเนื้อมัดใหญ่ (Gross motor) 4.2 ด้านการทำงานของกล้ามเนื้อมัดเล็ก (Fine motor)
วิธีการประเมิน • ใช้วิธีการสัมภาษณ์ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับเด็กมากที่สุด • เวลาที่ใช้ประมาณ 20 – 60 นาที
ขั้นตอนในการประเมิน 1. ผู้ประเมินสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ให้สัมภาษณ์ 2. ผู้ประเมินสัมภาษณ์ผู้ที่ใกล้ชิดกับเด็ก เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก ใช้วิธีแบบกึ่งเป็นทางการ (Semi-structured interview)
การสัมภาษณ์ด้วยวิธีแบบกึ่งเป็นทางการ (Semi-structured interview) • ถามหรือพูดคุยกันในลักษณะธรรมดา • ไล่ถามไปเรื่อย ๆ ให้สัมพันธ์กับหัวข้อในแบบประเมิน • ไม่ใช้วิธีอ่านข้อคำถาม • ไม่อนุญาตให้ผู้ถูกสัมภาษณ์อ่านข้อคำถามเอง
การให้คะแนน “0” หมายถึง ไม่เคยแสดงพฤติกรรมนั้นเลย “1” หมายถึง แสดงพฤติกรรมนั้นบ้างเป็นบางครั้ง หรือ แสดงพฤติกรรมนั้นได้บางส่วน “2” หมายถึง แสดงพฤติกรรมนั้นเป็นประจำ, เป็นนิสัย “DK”หมายถึง ไม่ทราบว่าเด็กทำได้หรือไม่ “N”หมายถึง เด็กไม่มีโอกาสได้ทำหรือแสดง
Basal itemsคือข้อคำถามที่ได้คะแนนเท่ากับ 2 จำนวน 7 ข้อคำถามติดต่อกันลงไป Ceiling itemsคือข้อคำถามที่ได้คะแนนเท่ากับ 0จำนวน 7 ข้อคำถามติดต่อกันขึ้นไป
การคิดคะแนน • หา basal items และ ceiling items • ให้คะแนน 2 ในทุกข้อคำถามก่อน basal item • ให้คะแนน 0 ในทุกข้อคำถามหลัง ceiling item • รวมคะแนนดิบ 2, 1, 0, DK และ N ในแต่ละคอลัมน์ • นำเอาผลรวมคะแนนดิบไปเทียบหาคะแนนมาตรฐาน (Standard Score)
การแปลผลและการสรุปผล • ใช้การเทียบคะแนนเฉลี่ยของบุคคลนั้น ๆ กับกลุ่มตัวอย่าง • ดูว่าบุคคลนั้นมีความสามารถเท่ากับอายุจริงของตนหรือไม่ มีความสามารถด้านใดบ้างที่ควรจะมี แต่ยังไม่มี
ข้อดีของแบบประเมิน VABS • Test-Retest Reliability; 2-4 สัปดาห์ มีค่าเท่ากับ .80 - .90 • Internal Consistency Reliability มีค่า .83 - .94 • สามารถนำไปใช้ประเมินผู้ใหญ่ที่มีความสามารถต่ำได้ (มีต่อ)
ข้อดีของแบบประเมิน VABS (ต่อ) • มีตัวเลขบอกอายุกำกับข้อคำถาม ทำให้ทราบว่าในข้อคำถามนั้น ๆ เด็กควรมีความสามารถเมื่อมีอายุเท่าใด • มีตัวเลขบอกคะแนนสูงสุดของแต่ละคอลัมน์ ตรวจสอบความผิดพลาดในการรวมคะแนนได้ง่าย
ข้อจำกัดของแบบประเมิน VABS • Interater Reliabity มีค่าเท่ากับ .62 - .78 การประเมินซ้ำ ...ควรใช้ผู้ประเมินคนเดียวกัน • ยังไม่มีค่ามาตรฐานสำหรับคนไทย
Any questions? ?????????
Questions for this topic 1. แบบประเมิน Vineland หรือเรียกสั้นๆว่า…………… ประกอบด้วยข้อคำถามจำนวน……………….ข้อ 2. แบบประเมินนี้ใช้ประเมินความสามารถ…………… ซึ่งแบ่งเป็น……ด้าน ได้แก่…………………………. 3. ใช้ประเมินบุคคลอายุ…………………….. 4. แบบประเมินนี้ใช้วิธี………….ในการได้มาของข้อมูล 5. Semi-structured Interview คือ……………………
Questions for this topic 6. การให้คะแนน 2 หมายถึง………………………… 7. การให้คะแนน1 หมายถึง…………………………. 8. DK และ N หมายถึง……………………………….. 9. Basal items คือ…………………………………. และ Ceiling items คือ…………………. 10. ข้อดีและข้อจำกัดของแบบประเมิน VABS…………
THE END THE END THE END THE END THE END THE END