320 likes | 735 Views
ประชาคมอาเซียน ( ASEAN Community). โดย นางอรสา ดิ สถาพร. ความเป็นมา. 8 สิงหาคม 2510 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และประเทศไทย ลงนาม
E N D
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) โดย นางอรสา ดิสถาพร
ความเป็นมา • 8 สิงหาคม 2510 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ และประเทศไทย ลงนาม ใน “ปฏิญญากรุงเทพ” ก่อตั้งสมาคมแห่งประชาชาติเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้(Association of Southeast Asian Nation : ASEAN) • ตุลาคม 2546 ผู้นำเอเชีย 10 ประเทศ ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไน เวียดนาม ลาว พม่า และประเทศกัมพูชา ลงนามใน “ปฏิญญาบาหลี” จัดตั้งประชาคม อาเซียน (ASEAN Community : AC)
เป้าหมาย จัดตั้งประชาคมอาเซียนให้เสร็จสิ้นภายในปี 2558
องค์ประกอบ ประกอบด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ 1) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Political Security Community : APSC) 2) ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Social Cultural Community : ASCC) 3) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC)
องค์ประกอบประชาคมอาเซียนองค์ประกอบประชาคมอาเซียน • การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว • (ตลาดร่วมอาเซียน) • การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน • ทางเศรษฐกิจของอาเซียน • การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค • การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก • การพัฒนาทางการเมือง • การกำหนดบรรทัดฐาน • การป้องกันความขัดแย้ง • แนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง • การเสริมสันติภาพ • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม • ความยุติธรรมและสิทธิ • ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม • สร้างอัตตลักษณ์ของอาเซียน One Vision , One Identity , One Community หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม
เป้าหมายการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) สร้างความมั่นคง มั่งคั่ง และความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. การสร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี โครงสร้างพื้นฐาน เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายเงินลงทุนอย่างเสรีมากขึ้น e - ASEAN ปี 2558 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก สนับสนุนการพัฒนา SMEs ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ ลดช่องว่างการพัฒนา IAI สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย การมีส่วนร่วมภาครัฐ – เอกชน PPE จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
ศักยภาพการแข่งขันของภาคเกษตรไทยกับในอาเซียนศักยภาพการแข่งขันของภาคเกษตรไทยกับในอาเซียน
การค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยกับอาเซียน หน่วย : ล้านบาท ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร คำนวณจากข้อมูลกรมศุลกากร หมายเหตุ : สินค้าเกษตรหมายถึงสินค้าในพิกัดศุลกากร 01-24 และยางพาราธรรมชาติ พิกัด 4001
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของผลไม้ไทย เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ความจำเป็น - ทราบศักยภาพของสินค้าว่าอยู่ในระดับใด - เตรียมการตามศักยภาพที่วิเคราะห์ได้ สินค้าที่ได้รับมอบหมาย - ไม้ผล 4 ชนิด ได้แก่ ทุเรียน ลำไย มังคุด มะม่วง
เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ - TCM (Thailand Competitiveness Matrix) - การวิเคราะห์ศักยภาพ / ความสามารถในการ เเข่งขัน ของสินค้า เพื่อหาตำแหน่งหรือสถานะซึ่ง บ่งบอกถึงขีดความสามารถของสินค้า
ข้อมูลที่ต้องใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลที่ต้องใช้ในการวิเคราะห์ 1. แกนตั้ง คือ Attractiveness พิจารณาจาก 1.1 เกณฑ์กลางในการแบ่ง Low และ High คือ อัตราการขยายตัวมูลค่าการนำเข้าที่ประเทศใน AEC 9 ประเทศนำเข้า ในช่วง 5 ปี 1.2 อัตราการขยายตัวมูลค่าการส่งออกที่ไทยส่งออกไปยัง ประเทศ AEC 9 ประเทศ ในช่วง 5 ปี ไทยส่งออกไป AEC อยู่ในช่วง Low หรือ High
2. แกนนอน คือ Competitiveness โดยเปรียบเทียบไทยกับคู่แข่งที่สำคัญใน AEC พิจารณาจาก 12 ปัจจัย ได้แก่ 2.1 คุณภาพผลผลิต 2.2 ความเหมาะสมของสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ 2.3 ความต้องการด้านเทคโนโลยี 2.4 การยอมรับของตลาด / ภาพลักษณ์สินค้า 2.5 ส่วนแบ่งการตลาด / อัตราการเจริญเติบโต 2.6 มาตรฐานสินค้า
2.7 ต้นทุนการผลิต 2.8 การวิจัยและพัฒนา 2.9 นโยบายของรัฐ 2.10 มาตรฐานสินค้า 2.11 โครงสร้างการผลิต 2.12 ระบบชลประทาน
สินค้าอยู่ใน Quadrant พิจารณา ดังนี้ 1. น้อยกว่าร้อยละ 60 Low 2. ร้อยละ 61 – 80 Medium 3. มากกว่าร้อยละ 80 High
High Low Low Medium High การกำหนดตำแหน่งในแต่ละสินค้า
ผลการวิเคราะห์ TCM ของ ทุเรียน คู่แข่ง : มาเลเซีย Position : Falling Star : ความต้องการในอาเซียน อยู่ในระดับต่ำ แต่ไทยมี ความสามารถในการแข่งขันสูง
New Wave Opportunity Star Question Mark Trouble Falling Star Thailand Competitiveness Matrix (TCM) : ทุเรียนสดในอาเซียน High Gr มูลค่านำเข้าทุเรียนของอาเซียนจากโลก (5ปี) = 68.72 Attractiveness Low Demand High Competitiveness Gr มูลค่าส่งออกทุเรียนไทยไปอาเซียน (5ปี) =15.60 Low 15.60,83.33 60 Competitiveness 80
ผลการวิเคราะห์ TCM ของลำไย คู่แข่ง : เวียดนาม Position : Star : ความต้องการลำไยในตลาดอาเซียน อยู่ในระดับสูง ไทยมีศักยภาพในการ แข่งขันสูง
New Wave Opportunity Star Question Mark Trouble Falling Star Thailand Competitiveness Matrix: ลำไยสด High Demand High Competitiveness GR การส่งออกลำไยสด ของไทยไปอาเซียน (9 ประเทศ) เฉลี่ย 5 ปี = 33.95 Competitiveness 83.33% 33.95, 83.33 Attractiveness GR การนำเข้าลำไยสด ของอาเซียน (10 ประเทศ) เฉลี่ย 5 ปี = 33.46 60% Competitiveness 80% 100%
ผลการวิเคราะห์ TCM ของมังคุด คู่แข่ง : อินโดนีเซีย Position : Star : ความต้องการมังคุดในตลาดอาเซียน อยู่ในระดับสูง และไทยมีความ สามารถในการแข่งขันสูง
Thailand Competitiveness Matrix (TCM) : มังคุดในอาเซียน
ผลการวิเคราะห์ TCM ของมะม่วง คู่แข่ง : ฟิลิปปินส์ Position : New wave : ความต้องการมะม่วงในตลาด อาเซียนยังอยู่ในระดับต่ำ และ ความสามารถในการแข่งขันเทียบ กับฟิลิปปินส์อยู่ในระดับต่ำ
Thailand Competitiveness Matrix (TCM) : มะม่วงในอาเซียน 40 30 High New Wave Opportunity Star 20 10 Low Demand 0 Low Competitiveness Attractiveness (10) (20) 0 100 Question (30) Trouble Falling Star Mark Low (40) (50) Competitiveness 60 80 (60) Competitiveness Factor Weight Competitiveness Factor Weight 7. ส่วนแบ่งการตลาด 8.33 1. คุณภาพ 0 Factor GR Attractiveness 8. นโยบายของรัฐ 0 2. ต้นทุนการผลิต 0 มูลค่าการนำเข้ามะม่วงของอาเซียน - 16.14 9. มาตรฐาน 8.33 3. ความเหมาะสมของสภาพภูมิ 8.33 เฉลี่ย 5 ปี (2550 - 2554) 10. โครงสร้างการผลิต 8.33 ประเทศ / ภูมิอากาศ มูลค่าการส่งออกมะม่วงไทยไปอาเซียน 24.90 4. การวิจัยและพัฒนา 0 11. Logistics 8.33 5. ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี 0 12. ระบบชลประทาน 0 6. การยอมรับของตลาด / ภาพลักษณ์ 8.33 Competitiveness 50.00 Thailand Competitiveness Matrix (TCM) : มะม่วงในอาเซียน
โครงการไม้ผลสู่ AEC ของกรมส่งเสริมการเกษตร(2556 – 2558) จำนวน 3 โครงการ งบประมาณ 975 ล้านบาท ได้แก่ 1. โครงการสร้างแบรนด์ไทย งบประมาณ 475 ล้านบาท 2. โครงการผลไม้ไทยทางเลือกใหม่ในอาเซียน งบประมาณ 200 ล้านบาท 3. โครงการเปิดโลกทัศน์ผลไม้ไทยในอาเซียน งบประมาณ 300 ล้านบาท
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของสินค้าเกษตรที่สำคัญการวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของสินค้าเกษตรที่สำคัญ ของไทยในอาเซียน