600 likes | 1.39k Views
ASEAN ECONOMIC COMMUNITY (AEC). ประเทศสมาชิกอาเซียน ASEAN และปีที่เข้าร่วม. ปี 2540. ปี 2540. ปี 2510. ปี 2510. ปี 2538. ปี 2510. ปี 2510. ปี 2542. ปี 2527. ปี 2510. ASEAN 5 SPANs. ช่วงหวาดหวั่น พ . ศ . 2510-2527 ( 17 ปี ) ช่วงยืดหยุ่น พ . ศ . 2527-2542 (15 ปี)
E N D
ประเทศสมาชิกอาเซียน ASEAN และปีที่เข้าร่วม ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ปี 2510
ASEAN 5 SPANs • ช่วงหวาดหวั่น พ.ศ.2510-2527 (17 ปี) • ช่วงยืดหยุ่น พ.ศ. 2527-2542 (15 ปี) • ช่วงยุ่งยาก พ.ศ. 2540-2547 (7 ปี) • ช่วงเชื่อมต่อกับภายนอก พ.ศ. 2545-ปัจจุบัน • รวมกลุ่มเสร็จสิ้น พ.ศ. 2558 (อีก 5 ปี จากนี้)
1. ช่วงหวาดหวั่นพ.ศ. 2510-2527 (17 ปี)
Vietnam War SEATO
2. ช่วงยืดหยุ่น พ.ศ. 2527-2542 (15 ปี)
นโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้านโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า
การยุติบทบาทของพคท.จากนโยบาย 66/23 และ 65/25
ไทยส่งออกไปอาเซียน ไทยนำเข้าจากอาเซียน ประโยชน์ที่ได้รับจากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจกับอาเซียน การส่งออกไปอาเซียน และ การนำเข้าจากอาเซียน ขยายตัวมาโดยตลอด
การค้าของไทยกับอาเซียนการค้าของไทยกับอาเซียน
ไทยส่งออกไปอาเซียน ไทยนำเข้าจากอาเซียน ประโยชน์ที่ได้รับจากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจกับอาเซียน การส่งออกไปอาเซียน และ การนำเข้าจากอาเซียน ขยายตัวมาโดยตลอด
4. ช่วงเชื่อมต่อกับภายนอก พ.ศ. 2545-ปัจจุบัน FTA ASEAN -China - EU - India - Australia - Pakistan
การค้าของไทยกับอาเซียนการค้าของไทยกับอาเซียน
ไทยส่งออกไปอาเซียน ไทยนำเข้าจากอาเซียน ประโยชน์ที่ได้รับจากการรวมกลุ่มเศรษฐกิจกับอาเซียน การส่งออกไปอาเซียน และ การนำเข้าจากอาเซียน ขยายตัวมาโดยตลอด
5. รวมกลุ่มเสร็จสิ้น พ.ศ. 2558 (อีก 5 ปี นับจากนี้)
ประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ • Free Trade Agreement (ความตกลงการค้าเสรี) • Customs Union (สหภาพศุลกากร) • Common Market (ตลาดร่วม) • Economic Union (สหภาพเศรษฐกิจ) • Political Union (สหภาพการเมือง)
ประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ • ความตกลงการค้าเสรี (Free Trade Agreement)All barriers to trade among members are removed, but each member can retain its own trade policies with non-members. • สหภาพศุลากร (Customs Union)A type of trade bloc which is composed of a FTA with a common external tariff (but in some cases use of different import quotas.)
ประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ • ตลาดร่วม (Common Market)Freedom of movement of factors of the production (capital and labor), and of enterprise and services. • สหภาพเศรษฐกิจ(Economic Union)Common currency is established, tax rates are harmonized, and a common monetary and fiscal policy is established.
ประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจประเภทของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ • สหภาพการเมือง (Political Union)Separate nations are essentially combined to form a single nation. The establishment of one parliament towards one political union or nation. (This is a big step psychologically and philosophically in European Union.)
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนASEAN Economic Community: AEC • ประกาศจะไปถึง AEC เมื่อ 2545 มุ่งเป้าหมาย 2563 • ประกาศ Blue Print เมื่อ 2550 • ประกาศเปลี่ยนเป้าหมายให้เร็วขึ้นเป็น 2558
วัตถุประสงค์ของ AEC • สนับสนุนการหมุนเวียนอย่างเสรีของการค้าสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน การพัฒนาทางเศรษฐกิจ • สนับสนุนการเป็นตลาดเดียวและเป็นฐานการผลิตร่วมของ ASEAN • สนับสนุนประเทศกัมพูชา ลาว และพม่า ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิก ASEAN • ส่งเสริมความร่วมมือนโยบายการเงินและเศรษฐกิจ ตลาดการเงิน และตลาดเงินทุน การประกันภัยและภาษีอากร โครงสร้างพื้นฐานและการคมนาคม กฎหมาย การเกษตร พลังงาน การท่องเที่ยว พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ยกระดับการศึกษาและการพัฒนาฝีมือ
AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community:AEC) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค ปี 2015 เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค สนับสนุนการพัฒนา SMEs
Blue Print AEC (1) • เลิกภาษี+ขจัด NTBs สำหรับสินค้า • ลดอุปสรรคการเข้าตลาด+เพิ่มสัดส่วนหุ้นให้บุคคลอาเซียนจนถึง 70% • เปิดเสรีการเงิน
Blue Print AEC (2) 4. เปิดเสรีเงินทุนเคลื่อนย้ายและตลาดทุน 5. เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี 6. อื่นๆ ที่ร่วมมือกันได้ เช่น เกษตร อาหาร ป่าไม้ IP โครงสร้างพื้นฐาน พลังงาน เหมืองแร่ e-Commerce การเงิน SMEs
การเปิดเสรีการค้าสินค้า (Trade in Goods) Intra-ASEAN Trade Single Market & Production Base ASEAN 6 อากรขาเข้า 0% 2553 CLMV อากรขาเข้า 0% 2558 ภาษีสินค้าอ่อนไหว (Tariff on Sensitive Items)< 5% ภายใน 2558 สินค้าอ่อนไหวของไทยมี 4 รายการ คือ ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง มันฝรั่ง กาแฟ
การเปิดเสรีการค้าสินค้า (Trade in Goods) Non-tariff Barriers: NTBs ASEAN 5 ยกเลิกทั้งหมด 2553 ฟิลิปปินส์ ยกเลิกทั้งหมด 2555 CLMV ยกเลิกทั้งหมด 2558 โควต้าภาษี (Tariff Quota) ใบอนุญาตนำเข้า (Imported Licensing)
ยุทธศาสตร์การแข่งขันการเปิดการค้าเสรีประเภทกลุ่มสินค้ายุทธศาสตร์การแข่งขันการเปิดการค้าเสรีประเภทกลุ่มสินค้า • พัฒนาและผลิตสินค้าที่มีศักยภาพส่งออกสูง • มีมาตรการคุ้มครองการผลิตในประเทศ และไม่ให้มีเงื่อนไขทางการค้าที่เสียเปรียบในการแข่งขันกับสินค้าจากต่างประเทศ อุปกรณ์และเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อาหาร ยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ เสื้อผ้า อัญมณี เครื่องหนัง พลาสติก เหล็ก แผ่นรีดเย็นและผลิตภัณฑ์เหล็ก ยา ผลไม้สด ปูนซีเมนต์ เฟอร์นิเจอร์ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ปุ๋ย ทองแดง
การเปิดเสรีการค้าบริการอาเซียนการเปิดเสรีการค้าบริการอาเซียน กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS) ลงนามเมื่อปี 2538 วัตถุประสงค์ 1) ขยายความร่วมมือในการค้าบริการบางสาขาที่ช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันให้สมาชิกอาเซียนมากขึ้น 2) ลดอุปสรรคการค้าบริการระหว่างสมาชิก 3) มีเป้าหมายเปิดเสรีอย่างเต็มที่ในปี 2558 (ค.ศ. 2015) หลักการสำคัญ 1) ประเทศสมาชิกเข้าร่วมเจรจาเป็นรอบๆ ละ 2 ปี เพื่อทยอยผูกพันการเปิดตลาดให้มากขึ้นทั้งสาขา (sector) และรูปแบบการให้บริการ (mode of supply) รวมถึงลดข้อจำกัดที่เป็นอุปสรรคต่อผู้ให้บริการในกลุ่มสมาชิก 2) แต่ละประเทศยังมีสิทธิในการออกกฎระเบียบภายในประเทศของตนเพื่อกำกับดูแลธุรกิจบริการให้มีคุณภาพได้ 3) สมาชิกอาเซียนต้องเปิดตลาดธุรกิจบริการให้แก่กันมากกว่าที่แต่ละประเทศได้มีข้อตกลงไว้กับองค์การการค้าโลก (WTO)
การเปิดเสรีการค้าบริการ (Trade in Services) Free Flow of Services 2551 Compilation of NTB (Services) 2552 Set Parameters to Mode 4 liberalization 2553 No restrictions for Mode 1 & 2 2558 Progressively remove Mode 3 limitations เปิดเสรีประเภทอาชีพบริการ CPC ระดับ Sub-sectors (ตามเอกสาร WTO MTN.GNS/W/120) Sub-sectors: 2551 (10), 2553 (15), 2557 (20), 2558 (7)
การเปิดเสรีการค้าบริการ (Trade in Services) เพิ่มสัดส่วนการถือครองหุ้นของนักลงทุนสัญชาติอาเซียน Logistics 70% 2556 2549 2551 2553 2558 PIS 12 กลุ่ม 49% 51% 70% สาขาอื่น 30% 49% 51% 70% PIS: Priority Integration Sectors ยานยนต์ ไม้ ยาง สิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม ผลิตภัณฑ์เกษตร ผลิตภัณฑ์ประมง สุขภาพ การท่องเที่ยว การบิน โลจิสติกส์ และ e-ASEAN
การเปิดเสรีการลงทุน (Investment) • ใช้ Negative List Approach ในการเปิดเสรีการลงทุน • ให้ ได้รับการปฏิบัติเยี่ยงนักลงทุนในประเทศ • ยกเลิกเงื่อนไขข้อจำกัดและประเภทการลงทุนทั้งหมด • No back-tracking of commitments except with compensation • = Foreign-owned ASEAN based and ASEAN investors ASEAN 6 เปิด 2553 CLMV เปิด 2558
การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการอาเซียนการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการอาเซียน คณะกรรมการประสานงานด้านบริการ (CCS) ข้อตกลงการยอมรับร่วม (MRAs) กรอบความ ตกลงการค้าบริการอาเซียน (AFAS)
การจำแนกสาขาบริการและสาขาที่ไม่ใช่บริการการจำแนกสาขาบริการและสาขาที่ไม่ใช่บริการ สาขาบริการ ตาม W 120 บริการด้านธุรกิจ บริการด้านสื่อสารคมนาคม บริการด้านการก่อสร้างและวิศวกรรมที่เกี่ยวเนื่อง บริการด้านการจัดจำหน่าย บริการด้านการศึกษา บริการด้านสิ่งแวดล้อม บริการด้านการเงิน บริการด้านสุขภาพและบริการทางสังคม บริการด้านการท่องเที่ยว บริการด้านนันทนาการ วัฒนธรรม และการกีฬา บริการด้านการขนส่ง บริการอื่นๆ ภาคที่ไม่ใช่บริการ1. การเกษตร2. การประมง3. ป่าไม้4. เหมืองแร่5. ภาคการผลิต (อุตสาหกรรม)
เป้าหมายผูกพันสาขาบริการในแต่ละรอบเป้าหมายผูกพันสาขาบริการในแต่ละรอบ พ.ศ. 2558 7 สาขา รวมเป็น 127 สาขา พ.ศ. 2557 20 สาขา รวมเป็น 120 สาขา พ.ศ. 2555 20 สาขา รวม เป็น 100 สาขา พ.ศ. 2553 15 สาขา รวมเป็น 80 สาขา
Country A Country A Country B The service crosses the border Supplier A Consumer B Mode 1 (35%) The consumer crosses the border Consumer B Consumer B Supplier A Mode 2 (10-15%) Consumer B Supplier A Supplier A established a commercial presence in country B Mode 3 (50%) Service supplied through presence of natural persons of country A in territory of country B Supplier A Consumer B Mode 4 (1-2%)
รูปแบบการเปิดเสรีการค้าบริการรูปแบบการเปิดเสรีการค้าบริการ การค้าบริการโดยผู้ให้บริการต่างชาติอาจเกิดขึ้นได้หลายรูปแบบ ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ (General Agreement on Trade in Services – GATS) กำหนดนิยามการค้าบริการระหว่างประเทศไว้ 4 รูปแบบ (Mode of Supply) ดังนี้ Mode 1 “ส่งบริการข้ามแดน”(Cross Border Supply) Mode 2 “ผู้รับบริการข้ามแดน” (Consumption Abroad) Mode 3 “ธุรกิจข้ามแดน” (Commercial Presence) Mode 4 “ผู้ให้บริการข้ามแดน”(Presence of Natural Person)
การเปิดเสรีการค้าบริการใน AFAS คือ การลด/ยกเลิกกฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าบริการในอาเซียน ข้อจำกัด/อุปสรรคต่อการเข้าสู่ตลาด จำนวนผู้ให้บริการ มูลค่าการให้บริการ ปริมาณของบริการ จำนวนของบุคคลที่ให้บริการ ประเภทของนิติบุคคล สัดส่วนการถือหุ้นในนิติบุคคล Market access ตัวอย่างข้อจำกัดต่อการปฏิบัติกับต่างชาติ กฎหมาย/มาตรการที่รัฐของประเทศภาคีมี การใช้บังคับ/ปฏิบัติกับผู้ให้บริการต่างชาติ แตกต่างกับผู้ให้บริการในชาติตน เช่น กฎหมายที่ดิน ข้อจำกัดด้านสัญชาติ ภาษี สัดส่วนเงินกู้ต่อทุน ทุนขั้นต่ำในการนำเงิน เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศ เป็นต้น Mode 1 National treatment Mode 2 Mode 3 Mode 4
ข้อตกลงยอมรับร่วมกัน และความก้าวหน้า ประเทศสมาชิกอาเซียนได้มีการลงนามร่วมกันระดับภูมิภาคอาเซียนในข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (MRA) ทางวิชาชีพไปแล้ว 5 สาขา และได้บรรลุความตกลงระดับเตรียมการสู่ข้อตกลงยอมรับร่วมกันต่อไป ได้แก่ วิชาชีพด้านการสำรวจ ซึ่งมีการลงนามใน ASEAN Framework Arrangement for the Mutual Recognition of Surveying Qualifications และวิชาชีพด้านการบัญชีซึ่งมีการลงนามใน ASEAN Mutual Recognition Arrangement Framework on Accountancy Services
ความตกลงระดับภูมิภาคอาเซียนสู่การยอมรับร่วมด้านคุณสมบัตินักวิชาชีพความตกลงระดับภูมิภาคอาเซียนสู่การยอมรับร่วมด้านคุณสมบัตินักวิชาชีพ
การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี (Free Flow of Capital) ดำเนินการตามความเห็นชอบของรัฐมนตรีคลังอาเซียน ยกเลิกข้อจำกัดการเคลื่อนย้ายเงินทุนในอาเซียน
ยุทธศาสตร์การเปิดการค้าเสรีบริการและการลงทุนยุทธศาสตร์การเปิดการค้าเสรีบริการและการลงทุน • พัฒนาข้อมูลและระบบสารสนเทศให้พร้อมต่อการแข่งขัน • มีมาตรการคุ้มครอง ไม่ให้มีเงื่อนไขที่เสียเปรียบ • เลือกเปิดเสรีบริการอย่างค่อยเป็นค่อยไป (เมื่อมีความพร้อม) การโรงแรม ภัตตาคาร และการท่องเที่ยว
การเปิดเสรีสาขาอื่น เกษตร อาหาร ป่าไม้ ทรัพย์สินทางปัญญา โครงสร้างพื้นฐาน (คมนาคม ICT พลังงาน) เหมืองแร่ e-commerce การเงินการธนาคาร และ SMEs
อุปสรรคของ AEC 1. ระดับการพัฒนาต่างกันมาก 2.ขาดความจริงจังในระดับต่างๆ 3.ขาดการบูรณาการภายในประเทศต่างๆ
สินค้าสำคัญของการค้าไทย-อาเซียนสินค้าสำคัญของการค้าไทย-อาเซียน
การปรับตัวของเอกชน (เชิงรุก) • เสาะหาวัตถุดิบจากอาเซียน • ศึกษารสนิยมตลาดอาเซียน • มองการย้ายฐานการผลิตไปในอาเซียน (เช่น ประเทศที่มีกฎหมายภายในที่เอื้อประโยชน์มากกว่า)