470 likes | 729 Views
เอกสารเพิ่มเติม Update มาตรฐานการรายงานทางการเงิน และสาระสำคัญของ TFRSs for NPAEs. รศ.ดร.วรศักดิ์ ทุมมานนท์ รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน 2554 เวลา 9.00 - 16.30 น. โรงแรมเอเชีย ถนนพญาไท กรุงเทพฯ
E N D
เอกสารเพิ่มเติมUpdate มาตรฐานการรายงานทางการเงินและสาระสำคัญของ TFRSs for NPAEs รศ.ดร.วรศักดิ์ ทุมมานนท์ รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการบัญชี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน 2554 เวลา 9.00 - 16.30 น. โรงแรมเอเชีย ถนนพญาไท กรุงเทพฯ จัดโดย บริษัท บัญชีกิจบริหาร จำกัด 1 1 1
Update ความรู้ทางบัญชีและภาษี • 101.5 FM 8-9 พุธ • www.curadio.chula.ac.th
Fair Value มากเหลือเกิน เพราะแม่บท เน้น relevance (ข้อมูลต้องเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ) แม้แลกด้วยความน่าเชื่อถือ • Fair Value เหมาว่าทุกกิจการมีทรัพยากรพอที่จะจ้างผู้ประเมินอิสระ/คนในเก่งในการกำหนด FV ได้
แต้มสะสม (จาก CRM) • 1 แก้ว 11 บาท 1 แต้ม • สะสม 10 แต้ม • แก้ว 11 ฟรี • 11x 10 = 110 เพื่อ 11 แก้ว • คำนวณแต้มแยกมาเป็นรายได้รับล่วงหน้า เท่าที่เป็นไปได้จะเกิดใช้สิทธิ
ประมาณการหนี้สิน (Provision) • ที่ผ่านมา มาตรฐานเดิมยากไป • ดูความน่าจะเป็นจะเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ที่จะทำให้เสีย ป ย เชิงเศรษฐกิจ เช่น คดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล • คิดลดจำนวนที่ประมาณได้
ที่จะเป็นไปวันนี้ (“ ”ทำใจให้มากขึ้นอีกนิด) • ตัดเรื่องดูความน่าจะเป็นและจำนวนเงินที่เกี่ยวข้อง expected value • ตัดเรื่อง discount
เลยลามมาถึงเรื่อง • ผล ป ย พนักงาน โดยเฉพาะ เงินชดเชยตาม กม แรงงาน + บำเหน็จ อนุญาตให้เลือก 3 ทาง • ทำตามมาตรฐานชุดใหญ่ (TAS 19) : ตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย • คำนวณตามสูตรภายในบริษัทที่มองแล้วเห็นว่าใกล้เคียงคณิตศาสตร์ประกันภัย • ตั้งปีก่อนที่พนักงานจะเกษียณ + รู้แน่ว่าจนครบเกษียน
ธุรกิจ NPAEs อาจเลือกทำบัญชีตามชุดใหญ่เพราะ • บริษัทที่มีบริษัทแม่ในต่างประเทศที่กำหนดให้บริษัทลูกในไทยทำตาม IFRS ส่งแม่ • บริษัทเป็นบริษัทลูก บริษํทแม่ในตลาดหลักทรัพย์ + หนังสือเวียนปี 46 ของ กลต. ขอความร่วมมือ บ ลูก (บ ร่วม) ให้ทำบัญชีใช้นโยบายบัญชีเดียวกับ แม่
บริษัทเตรียมตัวจะเข้าตลาดฯบริษัทเตรียมตัวจะเข้าตลาดฯ • บริษัทไม่มีแผนเข้าตลาด อยากยกระดับการทำบัญชีทัดเทียมสากล
บางบทมาจาก ม ชุดใหญ่ ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์
P 44 • แปลว่าปีนี้ต้นไป ยกเลิกดูประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น หลังมีรายจ่ายต่อไปนี้ก่อนจะมาขึ้นบัญชีเป็น สินทรัพย์ • ต่อเติม • ดัดแปลง • ขยายออก • ปรับปรุง • เปลี่ยนแทน • ซ่อมบำรุง
P 45 • สร้างอาคารลงในที่ดินที่เช่า • ติดตั้งอุปกรณ์ในอาคารหรือที่ดินที่เช่า + มีสัญญารื้อ หรือ บูรณะเมื่อสิ้นสัญญา + มั่นใจแน่ว่าจะต้องรื้อ หรือ บูรณะ + สามารถประมาณรายจ่ายได้น่าเชื่อถือ (ยากที่จะตั้งลงมาทันที)
Q: สินทรัพย์ได้มาก่อน 1/1/54 หากมีสัญญาทำนองนี้ หากไม่ได้ตั้งประมาณการหนี้สินไว้ ต้องปรับงบย้อนหลัง ???? • ไม่ต้อง • แต่เมื่อไร ที่มั่นใจว่าจะต้องรื้อ หรือบูรณะและสามารถประมาณรายจ่ายได้น่าเชื่อถือ ให้
ซื้ออาคารชุดมาทำ office ไม่ต้องลงบัญชีแยกระหว่าง • กรรมสิทธิ์ร่วมในที่ดินและทรัพย์ส่วนกลาง • ตัวอาคาร Dr. อาคาร xx Cr. เงินสด xx
หากเคยแยกลงบัญชีไว้ • ให้โอนปิดบัญชีกรรมสิทธิ์ร่วมและค่าเสื่อมสะสมของอาคาร ไปบัญชีอาคาร
Dr. อาคาร xx ค่าเสื่อมสะสม - อาคาร xx Cr. กรรมสิทธิ์ xx
Component acctg ข้อคิด • ไม่ถือปฏิบัติกับสินทรัพย์ถาวรที่มีหลายส่วนประกอบ แต่ไม่ได้แยกลงบัญชีไว้ ที่ได้มาก่อนรอบ 1/1/54
ในการแยกส่วนประกอบของสินทรัพย์ควรมุ่งไปที่ในการแยกส่วนประกอบของสินทรัพย์ควรมุ่งไปที่ • Core assets เป็นลำดับแรก • Bangkok airways : เครื่องบินก็น่าพอ • โรงหนัง : เบาะ จอภาพฯ ตัวโรงหนัง ระบบสาธารณู • ธุรกิจผลิต: โรงงาน + เครื่องจักร • ในต่างประเทศ ส่วนประกอบที่แยกออกมาควรมีมูลค่าประมาณ 5-10% ของมูลค่ารวมของ สินทรัพย์รายการนั้น
สำหรับส่วนประกอบที่ไม่ได้แยกออกมาสำหรับส่วนประกอบที่ไม่ได้แยกออกมา • ไม่มีการเปลี่ยนเป็นระยะๆ • เปลี่ยนเป็นระยะๆ แต่จำนวนไม่เยอะเลย ลงบัญชีรวมกันไว้เป็นส่วนประกอบเดียวกัน และให้คิดค่าเสื่อมไปตามอายุเฉลี่ยของส่วนประกอบเหล่านั้น
หากมีค่าติดตั้งอุปกรณ์ : ในต่างประเทศรายจ่ายติดตั้ง/ทดสอบเดินเครื่อง ปันส่วนเข้าเป็นต้นทุนของแต่ละส่วนประกอบตาม สัดส่วน FV ของแต่ละส่วนประกอบ Dr. เครื่องบิน – เบาะ xx เครื่องบิน – เครื่องยนต์ xx เครื่องบิน – เครื่องครัว xx เครื่องบิน – อื่นๆ xx Cr. เจ้าหนี้ xx
ด้อยค่าของสินทรัพย์ถาวรด้อยค่าของสินทรัพย์ถาวร • ทบทวนวันปิดบัญชี ไม่ทำทุกเดือน • ดูเฉพาะด้อยถาวร กู่ไม่กลับ • ไม่ต้องใช้ผู้ประเมินอิสระ • หน่วยงานภายในหามูลค่าขายได้สุทธิ • หลังด้อยค่า ให้คิดค่าเสื่อมจากฐานที่เหลืออยู่
มาตรฐานเซ็งจังเลยกับ • อาคาร 20 ปี • อุปกรณ์ 5 ปี • ราคาซาก 1 บาท • วิธีเส้นตรง อย่างเดียว • ไม่ประหลาดใจ ที่หมายเหตุ : มีสินทรัพย์ ถาวรจำนวนหนึ่ง ที่คิดค่าเสื่อมจนหมดแล้ว แต่ยังใช้งานอยู่ • ผู้สอบบัญชี : ข้าพเจ้า รับรอง บัญชี
การเปลี่ยนเรื่อง 3 ไม่ใช่การเปลี่ยนนโยบายบัญชี • เป็นการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี • ไม่ต้องปรับงบย้อนหลัง • ให้ใช้วิธีเปลี่ยนทันที • ไม่ต้องอนุมติกรมสรรพากร • แต่ถ้าเอาอายุ ราคาซาก วิธีใหม่มาใช้เพื่อยื่นภาษี ต้องขออนุมัติ หากไม่อนุมัติ ในแง่ทางบัญชี ต้องทำไปตามมาตรฐาน NPAEs แต่ตอนยื่นภาษี ไปปรับกระทบยอด
Investment Property • ที่ดิน อาคาร ส่วนควบ ถือไว้เพื่อ • หารายได้ค่าเช่า • เก็งกำไร • ทั้ง 2 อย่าง • กระทบต่อ • ธุรกิจอาคาร หรือ พื้นที่ให้เช่า • ธุรกิจที่ชอบซื้อที่ดินมา แต่ไม่มีแผนการว่าจะทำอะไร
NPL • สร้างคอนโดเพื่อขาย • กันไว้ 1 floor ไม่ขาย เปิดให้เช่า แต่อนาคต ราคาดี ก็ขาย เป็น IP ด้วยหรือไม่ • หาก 1 floor แยกขายได้ ให้ถือ 1 เป็น IP
ทำไมคิดต่างมุม ???? • IP ไม่รวมถึง • ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ สร้างเพื่อเป็นสวัสดิการพนักงาน แต่รวมถึง - ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ สร้างเพื่อให้เช่ากับบริษัทในเครือ
ปีเนี๊ยะ • หากเคยรวม IP ไว้ใน PPE • ไม่มีอะไรให้บันทึกบัญชีเพิ่มเติม • เพียง reclassify รายการออกจาก PPE มาเป็น IP • ห้าม revalue • ห้ามใช้ MTM • ยึดราคาทุน หักค่าเสื่อมสะสมและค่าเผื่อด้อยค่า
ปีนี้ต้นไป • จำแนกสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เป็น 2 ชนิด (mgmt ฟันธง) • มีอายุกำหนดได้แน่นอน : ตัดจ่ายตามอายุที่ได้ประโยชน์ + ทบทวนด้อยค่า • มีอายุกำหนดไม่ได้แน่นอน: ยังไงก็ต้องตัดจำหน่าย 10 ปีพอดี
Q: หากมีเครื่องหมายการค้า ไม่ได้ตัดจำหน่ายมาเลย เพราะตีความเป็นสินทรัพย์มีอายุไม่แน่นอน ซึ่ง TAS 38 กำหนดว่าไม่ตัดจ่าย แต่เมื่อ NPAEs ประกาศใช้ ทำไง ?????? A: นำมูลค่าตามบัญชี เช่น 10 ล้าน ตัดไปตามอายุ 10 ปี โดยเริ่มปี 54 ไม่ต้องกลับปรับงบย้อนหลัง
Q: หากเคยตัดจำหน่ายสินทรัพย์ไม่มีตัวตนมีอายุกำหนดไม่ได้แน่นอน (สงสัยไม่ได้อ่านมาตรฐานว่าให้ทำยังไง) 1) 5 ปี ตัดมา 2 ปี 2) 15 ปี ตัดมา 7 ปี พอมาตรฐานประกาศใช้ เอาไง
Q: กรณีที่ตั้งค่าเผื่อหนี้จะสูญไว้มากไป ปีนี้มาโอนกลับบางส่วน Dr. ค่าเผื่อฯ xx Cr. กำไรจากโอนกลับค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ xx หนี้สงสัยจะสูญอยู่ด้านเครดิต แสดงอย่างไรในงบกำไรขาดทุน 1) แสดงเป็นค่าใช้จ่ายติดลบ : มาตรฐานเดิม 2) แสดงเป็นรายได้อื่น: มาตรฐานไม่ได้บอกชัดเจน แต่กรอบแนวคิด (แม่บทเดิม) การเพิ่มค่าของสินทรัพย์คือรายได้
กรณีวันปิดบัญชี • สินค้าลดมูลค่า • ล้าสมัย • ชำรุด • ราคาตลาดลดลง ต้องหา NRV เพื่อไปปรับมูลค่าสินค้าปลายงวดให้เท่ากับ NRV
Perpetual Dr. ขาดทุนจากสินค้าลดมูลค่า xx Cr. สินค้า xx ไปแก้ stock card ให้แสดงราคาสินค้าตาม NRV ขาดทุนตัวเนี๊ยแสดงเป็นส่วนหนึ่งต้นทุนขาย
กรณีสินค้าสูญหาย • ให้แสดงผลขาดทุนเป็น ค่าใช้จ่ายบริหาร
ต้องเปิดเผยในหมายเหตุถึงผลขาดทุนที่รวมในต้นทุนขายต้องเปิดเผยในหมายเหตุถึงผลขาดทุนที่รวมในต้นทุนขาย Periodic เหมือนไปตรวจนับสินค้าด้อยค่าปลายงวดที่ราคา NRV เวลายื่นภาษี: ราคาทุนหรือราคาตลาดที่ต่ำกว่า สภากำลังคุยกับสรรพากร เพื่อให้สรรพากรทบทวนราคาตลาดว่าน่าจะแก้เป็น NRV หากทบทวนได้ตามนี้จริง ไม่น่าต้องบวกกลับขาดทุนจาก stock
จูงใจให้ทำสัญญาเช่า ไม่ใช่ inflation ปี ค่าเช่า 1 30 2 40 3 50 120/3 = 40
ปัจจัยดูว่าอายุแน่นอน/ไม่แน่นอนปัจจัยดูว่าอายุแน่นอน/ไม่แน่นอน • ใช้งานได้ตามประสงค์ ?????: หากใช่ โอกาสจะเปลี่ยนไปสินทรัพย์ตัวอื่น แทบไม่มี อายุไม่แน่นอน
Life cycle ของสินทรัพย์ไม่มีตัวตน ?? หากในช่วง growth หากใช่ โอกาสจะเปลี่ยนไปสินทรัพย์ตัวอื่นไม่มี อายุยังไม่แน่นอน
เสถียรภาพของอุตสาหกรรมของกิจการ: หากมั่นคง โอกาสจะเปลี่ยน สินทรัพย์อื่น ไม่มี อายุกำหนดไม่ได้แน่นอน
Dr. อาคารส่วนเพิ่ม xx Cr. ประมาณการหนี้สิน xx ให้คิดค่าเสื่อมส่วนเพิ่มไปตลอดอายุที่เหลือของอาคาร
หากต่อมา ทบทวนใหม่พบว่ารายจ่ายรื้อ หรือ บูรณะเปลี่ยนไป สมมติว่า เพิ่มขึ้น ก็ให้ลงบัญชีเหมือนเดิม
ขอแค่รายจ่ายเหล่านี้ ทำให้กิจการได้รับประโยชน์จาก สินทรัพย์เกิน 1 รอบ และวัดรายจ่ายได้น่าเชื่อถือ ก็ขึ้นบัญชีเป็น สินทรัพย์เว้นสาระไม่สำคัญ ก็ ตัดเป็นค่าใช้จ่าย
รายจ่ายเหล่านี้ให้แยกขึ้นบัญชีออกมาเป็น 1 account+ ให้คิดค่าเสื่อมไปตามอายุที่คาดว่าจะได้รับ ป ย ซึ่งอาจสั้นกว่าอายุที่เหลือของสินทรัพย์
วิธีสอง (สนับสนุน) • เก็บสถิติย้อนหลัง 3 ปี • คนที่อยู่จนเกษียณ มักจะทำงานกับที่เรามาเกินกี่ปี มักจะเหลืออายุงานกี่ปีก่อนเกษียนที่จะไม่ลาออกก่อน สมมติว่ามักเป็นพนักงานที่ทำมา 10 ปีขึ้น และเหลือ 5 ปีสุดท้าย
สมมติว่านาย ก ทำงานกับเรา 12 ปี เหลืออีก 8 ปี จะเกษียน • ปี 54 ปีแรกที่จะตั้ง provision คำนวณเงินเดือน 10 เดือนของปี 54 สมมติว่าได้ 200,000 ควรตั้ง = 200,000 x 12/20 = 120,000 (past + current service cost)