900 likes | 2.06k Views
การสร้างข้อสอบอัตนัยหรือเขียนตอบ ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ( PISA). ดร.ชนาธิป ทุ้ยแป สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. ปัจจุบันท่านกำลังเป็นครูผู้สอนอยู่ในช่วงไหนเอ่ย?. สนุกกับการทำงาน. กำลังเรียนครู. เริ่มบรรจุ. เกษียณอายุราชการ. 1. ใกล้เกษียณ. 2. 3. 4. 5.
E N D
การสร้างข้อสอบอัตนัยหรือเขียนตอบการสร้างข้อสอบอัตนัยหรือเขียนตอบ ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ(PISA) ดร.ชนาธิป ทุ้ยแปสำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
ปัจจุบันท่านกำลังเป็นครูผู้สอนอยู่ในช่วงไหนเอ่ย?ปัจจุบันท่านกำลังเป็นครูผู้สอนอยู่ในช่วงไหนเอ่ย? สนุกกับการทำงาน กำลังเรียนครู เริ่มบรรจุ เกษียณอายุราชการ 1 ใกล้เกษียณ 2 3 4 5
การประเมินในระบบการศึกษาไทยการประเมินในระบบการศึกษาไทย PISA & TIMSS การประเมินระดับนานาชาติ การประเมินระดับชาติ ONET & NT การประเมินระดับเขตพื้นที่ LAS การประเมินระดับสถานศึกษา การประเมินภายใน&ภายนอก การทดสอบในชั้นเรียน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด การทดสอบระดับชั้นเรียน
ข้อสอบกลางที่ใช้เป็นข้อสอบปลายภาค/ปลายปีข้อสอบกลางที่ใช้เป็นข้อสอบปลายภาค/ปลายปี ระดับชั้น ป.2, 4-5 และ ม.1-2 ภาษาไทย ป.2 กลุ่มสาระ ป.4-5 ภาษาไทย / คณิตศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย / คณิตศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ / สังคมศึกษาฯ / ภาษาต่างประเทศ ม.1-2
ระบบการวัดและประเมินผลในระดับสถานศึกษาโดยใช้ข้อสอบกลางระบบการวัดและประเมินผลในระดับสถานศึกษาโดยใช้ข้อสอบกลาง คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ใช้ในการตัดสินผลการเรียน คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน คะแนนสอบปลายภาค - คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค - คะแนนตรวจงาน/โครงการ - คะแนนสอบภาคปฏิบัติ ฯลฯ ข้อสอบกลาง (สพฐ.) (20 %) ข้อสอบของโรงเรียน/ เขตพื้นที่ (80 %)
การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) กับ การทดสอบในชั้นเรียน (Classroom Assessment) ในปัจจุบัน - ข้อสอบเลือกตอบ - ข้อสอบเขียนตอบ การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) Free content Based assessment (เนื้อหาทั่วไป) - ข้อสอบเลือกตอบ การทดสอบระดับชั้นเรียน(Classroom) content Based assessment (เนื้อหาตามตัวชี้วัด)
รูปแบบข้อสอบอัตนัยหรือเขียนตอบรูปแบบข้อสอบอัตนัยหรือเขียนตอบ
ตัวอย่างข้อสอบเขียนตอบตามแนว PISA 1. แบบสร้างคำตอบแบบปิด มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคำถามแล้วให้ผู้เข้าสอบเขียนคำตอบที่เป็นคำตอบถูกต้อง ที่มีลักษณะเฉพาะและชัดเจน เช่น โจทย์ บริษัทที่ทำขนมปังกรอบชื่อบริษัทอะไร ..........................................................................................................................................................................................................
ตัวอย่างข้อสอบเขียนตอบตามแนว PISA 2. เขียนตอบสั้น ๆ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคำถาม และให้ผู้เข้าสอบเขียนคำตอบสั้น ๆ ในที่ว่างที่เตรียมไว้ในแบบทดสอบ ซึ่งอาจเขียนคำตอบเป็นตัวหนังสือ วาดภาพ และ/หรือเขียนตัวเลข เช่น โจทย์ ถ้านักเรียนต้องการหาเส้นทางสั้นที่สุดเพื่อเดินทางด้วยรถไฟใต้ดินจากสถานีซาโต้ไปยังสถานีป่าไม้ จงเขียนเส้นทางที่นักเรียนจะใช้เดินทางลงในแผนที่ ..........................................................................................................................................................................................................
ตัวอย่างข้อสอบเขียนตอบตามแนว PISA 3. สร้างคำตอบแบบอิสระ มีลักษณะเป็นข้อสอบที่มีข้อคำถามแล้วให้ผู้เข้าสอบอธิบายคำตอบหรือให้เหตุผลประกอบคำตอบที่แสดงความเข้าใจที่มีต่อคำถาม ผู้เข้าสอบควรเขียนคำตอบในเส้นบรรทัดที่กำหนดไว้ให้ จำนวนเส้นบรรทัดจะเป็นตัวบอกความยาวอย่าง คร่าว ๆ ที่ควรเขียนตอบ โจทย์ ลักษณะอย่างใดของภาพยนตร์ ที่ทำให้คนในเมืองมาซอนโดโกรธแค้น..............................................................................................................................................................................................................
รูปแบบข้อสอบเขียนตอบในการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) 1. แบบสร้างคำตอบแบบปิด • ระดับพฤติกรรมทางสมองขั้นพื้นฐาน • ความจำ • ความเข้าใจ • การนำไปใช้ 2. แบบเขียนตอบสั้น • ระดับพฤติกรรมทางสมองขั้นสูง • การวิเคราะห์ • การประเมินค่า • การสร้างสรรค์ 3. แบบสร้างคำตอบแบบอิสระ
รูปแบบข้อสอบแบบเขียนตอบในชั้นเรียนรูปแบบข้อสอบแบบเขียนตอบในชั้นเรียน
1.แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น1.แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น (Restricted Response or Shot Essay Item: RR) เป็นลักษณะข้อสอบที่ให้คิดและเขียนคำตอบภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด และมีแนวของคำตอบที่ชัดเจน (ออกยาก แต่ตรวจง่าย)
ตัวอย่างข้อสอบแบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น (restricted-response question) การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กับการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมีความเหมือนและความแตกต่างกันอย่างไร ……………………………………………………………………………………………............................................................................... 2.
ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ โจทย์ ลวดยาว 44 เซนติเมตร ถ้านำมาตัดแล้วดัดให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 2 เซนติเมตร จะได้รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมากที่สุด ............................ รูป ที่มา: ดัดแปลงจากข้อสอบ สสวท.
ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ โจทย์ นำรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจำนวน 5 รูปที่มีพื้นที่เท่ากันมาต่อกันดังภาพ ซึ่งมีพื้นที่รวมกันทั้งหมด 245 ตารางเซนติเมตร จงหาคำตอบต่อไปนี้ ก. พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจำนวน 1 รูป ตอบ...............................ตารางเซนติเมตร ข. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละเท่าใด ตอบ...............................เซนติเมตร ค. จากรูปความยาวเส้นรอบรูปเป็นเท่าใด ตอบ...............................เซนติเมตร ที่มา: ดัดแปลงจากข้อสอบโครงการ TIMSS
ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ โจทย์ รูปแสดงลูกเต๋า 6 รูป มีชื่อติดกำกับไว้ว่า (a) (b) (c) (d) (e) และ (f) เป็นกฎของลูกเต๋า คือ จำนวนจุดที่อยู่บนหน้าตรงกันข้ามสองหน้ารวมกันข้ามสองหน้ารวมกันต้องเป็น 7 เสมอ จงเขียนจำนวนจุดบนหน้าที่อยู่ด้านล่างของลูกเต๋าที่อยู่ในภาพ ลงในตารางล่าง ที่มา: ดัดแปลงจากข้อสอบโครงการ PISA
ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ โจทย์ ต้อมเลี้ยงปลาทอง นกพิราบ และกระต่าย รวมกัน 10 ตัว นับขารวมกันได้ 20 ขา ต้อมจะมีปลาทอง นกพิราบ และกระต่าย อย่างละกี่ตัว คำตอบ ต้อมเลี้ยงปลาทอง ............... ตัว นกพิราบ ............... ตัว และ กระต่าย ............... ตัว ที่มา : ข้อสอบ สสวท.
ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ โจทย์ถ้าเขาต้องการทดสอบความคิดของเขา ที่ว่าถ้าวางรางให้สูงขึ้นรถจะเคลื่อนที่เร็วขึ้นไม่ เขาจะต้องเปรียบเทียบการทดลองสามครั้งใด ที่มา: ข้อสอบโครงการ PISA
ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ โจทย์จากภาพชุมชนหนู งู และต้นข้าว จะเกิดอะไรขึ้นกับชุมชนนี้ถ้างูถูกคนฆ่าจนหมดไป ที่มา: ข้อสอบโครงการ PISA
ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ สถานีรถไฟ 3 สถานีอยู่บนเส้นทางรถไฟสายเดียวกัน ดังภาพ โจทย์จากภาพ สถานี ก และสถานี ค อยู่ห่างกัน 3,350 เมตร สถานี ข และสถานี ค อยู่ห่างกัน 1,780 เมตร สถานี ก และสถานี ข อยู่ห่างกันกี่เมตร จงแสดงวิธีทำ ที่มา: ดัดแปลงจากข้อสอบ สสวท.
ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ มีน้ำอยู่ในกระบอกตวงใบที่ 1 และใบที่ 2 ดังภาพ โจทย์จากภาพ ถ้าเทน้ำจากกระบอกตวงใบที่ 1 ลงในกระบอกตวงใบที่ 2 จนกระบอกตวงใบที่ 2 มีน้ำเพิ่มเป็น 925 มิลลิลิตร กระบอกตวงใบที่ 1 จะเหลือน้ำอยู่กี่มิลลิลิตร จงแสดงวิธีทำ (ที่มา: ข้อสอบ สสวท.)
2. แบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ (Unrestricted Response or extended Response: UR) เป็นลักษณะข้อสอบที่ให้อิสระในการคิด โดยเปิดโอกาสให้คิดและเขียนภายใต้หลักวิชาที่สมเหตุสมผล ต้องมีประเด็นหรือเกณฑ์ในการตรวจให้คะแนนที่ชัดเจนครอบคลุม (ออกง่าย แต่ตรวจยาก)
ตัวอย่างข้อสอบแบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระตัวอย่างข้อสอบแบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ (extended-response question) 1. จงออกแบบระบบการบำบัดน้ำเสียในสถานศึกษาของเราที่มีลักษณะเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ................................................................................. ประเด็นในการตรวจให้คะแนน • เกี่ยวกับการบำบัดน้ำเสีย • เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • เหมาะสมกับบริบทสถานศึกษา • มีความเป็นไปได้
ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ นักข่าวโทรทัศน์แสดงกราฟต่อไปนี้ และรายงานว่า “กราฟแสดงให้เห็นว่าคดีปล้นในปี พ.ศ.2542 มีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2541 มาก” โจทย์คำพูดของนักข่าวคนนี้ เป็นการแปลความหมายกราฟอย่างสมเหตุสมผลหรือไม่ พร้อมเขียนคำอธิบายสนับสนุนคำตอบ ที่มา: ข้อสอบโครงการ PISA
ตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติตัวอย่างข้อสอบในระดับชาติและนานาชาติ ในการทำการบ้านเรื่องสิ่งแวดล้อม นักเรียนได้รวบรวมเกี่ยวกับระยะเวลาการสลายตัวของขยะชนิดต่างๆ ที่ประชาชนทิ้ง ได้ดังนี้ โจทย์ นักเรียนคนหนึ่งคิดที่จะแสดงข้อมูลเหล่านี้เป็นแผนภูมิแท่ง จงให้เหตุผลมาหนึ่งข้อว่าทำไมแผนภูมิแท่งจึงไม่เหมาะสมในการแสดงข้อมูลเหล่านี้ (ที่มา: ข้อสอบโครงการ PISA)
ข้อดี ข้อจำกัดของแบบทดสอบอัตนัย ข้อจำกัด ข้อดี
ขั้นตอนการสร้างข้อสอบในชั้นเรียนขั้นตอนการสร้างข้อสอบในชั้นเรียน กำหนดกรอบในการประเมิน วิเคราะห์มาตรฐาน แผนผังแบบสอบ การวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบ/แบบสอบ นำข้อสอบทดลองใช้ เขียนข้อสอบ ปรับปรุง/บรรณาธิการกิจ ข้อสอบ/แบบสอบ ตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา การตรวจสอบภาษา/ ความถูกต้องตามหลักการวัดผล นำข้อสอบไปใช้/ เก็บเข้าคลังข้อสอบ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดเพื่อการวัดและประเมินผลในชั้นเรียนการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดเพื่อการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ตัวชี้วัด1 ความรู้(knowledge: K) ตัวชี้วัด2 ทักษะกระบวนการ(process skill: P) มาตรฐาน1 ตัวชี้วัด3 ตัวชี้วัด4 คุณลักษณะ(Attribute: A) หลักสูตร มาตรฐาน2 มาตรฐาน3
มฐ. ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน • อ่านออกเสียงคำ คำคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆได้ถูกต้อง • อธิบายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน • ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน • .................. • มีมารยาทในการอ่าน ภาษาไทย ป.2
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร(เพื่อการประเมินผลการเรียนรู้)การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร(เพื่อการประเมินผลการเรียนรู้) มาตรฐาน ท1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด เปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษส่วนและทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง สถานการณ์ หรือ บริบทเนื้อหา คำสำคัญ (key word) หรือ พฤติกรรมที่ต้องการแสดง
การกำหนดกรอบในการประเมิน(การกำหนดวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)การกำหนดกรอบในการประเมิน(การกำหนดวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)
วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) -การทดสอบแบบปรนัย -การทดสอบแบบอัตนัย -การตรวจสอบผลงาน -การตรวจการบ้าน -การสัมภาษณ์ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ทักษะกระบวนการ(Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น(Attribute)
วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) -การทดสอบภาคปฏิบัติ -การสังเกต -การสัมภาษณ์ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ทักษะกระบวนการ(Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น(Attribute)
วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) -การรายงานตนเอง -การสังเกต -การสัมภาษณ์ -การสนทนากลุ่ม/สังคมมิติ -การทดสอบภาคปฏิบัติ -การตรวจสอบประวัติ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ทักษะกระบวนการ(Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น(Attribute)
วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน (แบบทดสอบ) ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) องค์ความรู้ตามตัวชี้วัด ถาม ถาม ถาม ทักษะกระบวนการ(Process Skill) ขั้นตอน/วิธีการ/หลักการ/กระบวนการตามตัวชี้วัด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น (Attribute) พฤติกรรมที่แสดงออก ตามตัวชี้วัด
การทดสอบ • การสัมภาษณ์ • การสังเกตพฤติกรรม • การตรวจชิ้นงาน • ฯลฯ วิธีการในการวัด และประเมินผล วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผล • แบบทดสอบ • แบบสัมภาษณ์ • แบบสังเกตพฤติกรรม • แบบบันทึกผลการตรวจชิ้นงาน • ฯลฯ เครื่องมือในการวัดและประเมินผล
การกำหนดกรอบในการประเมิน(การเลือกรูปแบบข้อสอบที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)การกำหนดกรอบในการประเมิน(การเลือกรูปแบบข้อสอบที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)
คำตอบเดียว หลายคำตอบ เชิงซ้อน กลุ่มคำตอบสัมพันธ์ เลือกตอบ ตัวชี้วัด เขียนตอบ แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น แบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ
การเขียนข้อสอบอัตนัย- ลักษณะของคำถาม - การเขียนข้อสอบ- การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ลักษณะของคำถามแบบอัตนัยลักษณะของคำถามแบบอัตนัย
ลักษณะของข้อคำถาม 1. ถามให้นิยามหรืออธิบายความหมาย 2. ถามให้จัดลำดับเรื่องราวหรือลำดับเหตุการณ์ 3. ถามให้จัดหรือแยกประเภทสิ่งของหรือเรื่องราวต่าง ๆ 4. ถามให้อธิบายเหตุการณ์หรือกระบวนการ 5. ถามให้เปรียบเทียบเหตุการณ์ ความคล้ายคลึงและ ความแตกต่าง 6. ถามให้ออกแบบ เขียนเค้าโครงหรือวางแผนการดำเนินงาน ต่าง ๆ
ลักษณะของข้อคำถาม (ต่อ) 7. ถามให้อธิบายเหตุผลย่อ ๆ ในการสนับสนุนหรือคัดค้าน 8. ถามให้วิเคราะห์เรื่องราวหรือวิเคราะห์ความสัมพันธ์ 9. ถามให้ชี้แจงหลักการหรือจุดประสงค์ 10. ถามให้อภิปรายแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วิจารณ์ อย่างกว้างขวาง 11. ถามให้นำหลักการไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ
หลักการเขียนข้อสอบแบบอัตนัยหลักการเขียนข้อสอบแบบอัตนัย
หลักการเขียนข้อสอบอัตนัยหลักการเขียนข้อสอบอัตนัย 1. เขียนคำชี้แจงเกี่ยวกับวิธีการตอบให้ชัดเจน ระบุจำนวนข้อคำถาม เวลาที่ใช้สอบและคะแนนเต็มของแต่ละข้อ เพื่อให้ผู้ตอบสามารถวางแผนการตอบได้ถูกต้อง 2. ข้อคำถามต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับพื้นความรู้ของผู้ตอบ 3. ควรถามเฉพาะเรื่องที่สำคัญและเป็นเรื่องที่แบบทดสอบปรนัยวัดได้ไม่ดีเท่า เนื่องจากไม่สามารถถามได้ทุกเนื้อหาที่เรียน ควรถามเกี่ยวกับการนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ ความคิดสร้างสรรค์ การแสดงความคิดเห็น การวิพากษ์วิจารณ์ เป็นต้น 4. กำหนดขอบเขตของคำถาม เพื่อให้ผู้ตอบทราบถึงจุดมุ่งหมายในการวัด สามารถตอบได้ตรงประเด็น
หลักการเขียนข้อสอบอัตนัย (ต่อ) 5. การกำหนดเวลาในการสอบ จะต้องสอดคล้องกับความยาวและลักษณะคาตอบที่ต้องการ ระดับความยากง่ายและจานวนข้อสอบ 6. ไม่ควรมีข้อสอบไว้ให้เลือกตอบเป็นบางข้อ เพราะอาจมีการได้เปรียบเสียเปรียบกัน เนื่องจากแต่ละข้อคำถามจะมีความยากง่ายไม่เท่ากันและวัดเนื้อหาแตกต่างกัน รวมทั้งจะไม่ยุติธรรมกับผู้ที่สามารถตอบได้ทุกข้อ ซึ่งมีโอกาสได้คะแนนเท่ากับผู้ที่ตอบได้เพียงบางข้อ 7. หลีกเลี่ยงคำถามที่วัดความรู้ความจำ หรือถามเรื่องที่ผู้เรียนเคยทำ หรือเคยอภิปรายมาก่อน หรือถามเรื่องที่มีคำตอบในหนังสือ เพราะจะเป็นการวัดความจำ ควรถามในเรื่องที่ผู้เรียนต้องนำความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่
หลักการเขียนข้อสอบอัตนัย (ต่อ) 8. พยายามเขียนคำถามให้มีจำนวนมากข้อ โดยจำกัดให้ตอบ สั้น ๆ เพื่อจะได้วัดได้ครอบคลุมเนื้อหา ซึ่งจะทำให้แบบทดสอบมีความเชื่อมั่นสูง 9. ควรเตรียมเฉลยคำตอบและกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนตามขั้นตอนและน้ำหนักที่ต้องการเน้นไว้ด้วย 10. ถ้าแบบทดสอบมีหลายข้อ ควรเรียงลำดับจากข้อง่ายไปหายาก