430 likes | 1.17k Views
Environmental Awareness. เมื่อสิ่งมีชีวิตอื่นได้รับผลกระทบ. ปลายศตวรรษที่ 18 จำนวนประชากรของมนุษย์เพิ่มมากขึ้นจนทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอื่น และทำให้มนุษย์ได้ตระหนักถึงการเปลี่ยนของสภาพแวดล้อม และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับตัวเอง เริ่มมีการจัดตั้งพื้นที่อนุรักษ์. Great Auk.
E N D
เมื่อสิ่งมีชีวิตอื่นได้รับผลกระทบเมื่อสิ่งมีชีวิตอื่นได้รับผลกระทบ • ปลายศตวรรษที่ 18 จำนวนประชากรของมนุษย์เพิ่มมากขึ้นจนทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอื่น และทำให้มนุษย์ได้ตระหนักถึงการเปลี่ยนของสภาพแวดล้อม และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับตัวเอง • เริ่มมีการจัดตั้งพื้นที่อนุรักษ์ Great Auk 1872Yellow stone
Pollution • มนุษย์เริ่มให้ความสำคัญกับปัญหามลพิษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อมีการปนเปื้อนของสารกัมมันตภาพรังสีจากการทดลองและการใช้อาวุธนิวเคลียร์
Pollution • จากนั้นในอังกฤษได้เกิดเหตุการณ์ Great smog ในเดือนธันวาคม ปี 1952 ซึ่งส่งผลให้ในสัปดาห์ถัดมามีคนตายถึง 4000คน • เหตุการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้ ถ่านหินคุณภาพต่ำจำนวนมาก ทั้งใน อุตสาหกรรมและครัวเรือน
มลพิษ กับ จิตสำนึก • DDT (dichlorodiphenyltrichloro-ethane) • สังเคราะห์ขึ้นครั้งแรกในปีค.ศ. 1940 • ใช้เป็นยาฆ่าแมลง มีประสิทธิภาพสูง มีความเป็นพิษต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมต่ำ • WHO แนะนำให้ใช้ควบคุมมาเลเรีย • สงครามโลกครั้งที่ 2 ทหารอเมริกันใช้ป้องกันแมลง http://contexts.org/socimages/2008/02/01/ddt-is-good-for-me-e-e/
http://contexts.org/socimages/2008/02/01/ddt-is-good-for-me-e-e/http://contexts.org/socimages/2008/02/01/ddt-is-good-for-me-e-e/ DDT sprayed on Long Island beaches in 1945. Photo: Advisory Committee on Pesticides, www1.umn.edu http://caosblog.com/6751
มลพิษ กับ จิตสำนึก • The Silence Spring 1962 • Rachel Carson • Best seller
Unhatched Ibis eggs, damaged because of DDT pesticide poisoning on the Texas Gulf. George Silk,1970 http://www2.ucsc.edu/scpbrg/ddt.htm
สารพิษที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมสามารถถูกส่งต่อไปยังสิ่งมีชีวิตต่างๆ ผ่านการกินกันเป็นทอดๆ และความเข้มข้นของสารพิษในเนื้อเยื่อในสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในลำดับขั้นอาหารสูง ๆ จะเพิ่มขึ้นด้วยกระบวนการ biomagnification
DDT & Biomagnification จากหนังสือเรื่อง The silent springทำให้มนุษย์เริ่มตระหนักถึงผลกระทบจากการกระทำของเราที่ทำให้เกิด ความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อม ซึ่งผลดังกล่าวย่อมจะย้อนกลับมาทำลายเราเอง
โทษของ DDT • ทำให้กระดูกปลาวาฬเปราะผิดปกติ • ทำให้ปลาแปลงเพศจากเพศผู้เป็นเพศเมีย • DDE สามารถทำลายเชื้ออสุจิของผู้ชาย หมันและมะเร็งต่อมลูกหมาก เชื้ออสุจิที่ผิดปกติ ทารกที่คลอดออกมาก็อาจมีอวัยวะที่ไม่สมประกอบ • DDT เป็นพิษต่อเด็กมากกว่าผู้ใหญ่
DDT ถูกระงับการใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1972 ในปัจจุบันยังมีการใช้เพื่อการควบคุมโรคติดต่อในบางพื้นที่ และยังสามารถตรวจพบสารที่ตกค้างจาก DDT ได้ในสิ่งแวดล้อม
ในอดีตการเห็นถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น หรือ การพยายามแก้ไขมักอยู่ในระดับพื้นที่ แต่ปัจจุบันเรากำลังเผชิญหน้ากับปัญหาที่ระดับที่กว้างขึ้นทั้งโลก The Silent Spring An Inconvenient Truth
ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ สถานีตรวจวัดอากาศ Mauna Loa, Hawaii An Inconvenient Truth • Al Gore (2006) • การเพิ่มขึ้นของ CO2 • ปรากฏการณ์โลกร้อน http://www.youtube.com/watch?v=wnjx6KETmi4
An Inconvenient Truth • การเพิ่มขึ้นของ CO2 • ปรากฏการณ์โลกร้อน • ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับโลกของเรา http://www.youtube.com/watch?v=hTr5m0dFn9A&feature=fvwrel
ความตระหนักในความสำคัญของการรักษาสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ระดับ
ระดับที่ 1 เริ่มที่ตัวเรา หยุดการกระทำที่ทำลายสภาพแวดล้อมโดยเริ่มจากตัวเรา เช่น การลดปริมาณของเสียต่างๆ ใครควรรับผิดชอบกับปัญหาที่เกิดขึ้น??
ระดับที่ 1 เริ่มที่ตัวเรา หยุดการกระทำที่ทำลายสภาพแวดล้อมโดยเริ่มจากตัวเรา เช่น การลดปริมาณของเสียต่างๆ • ไม่ต้องเกี่ยงว่าใครเป็นผู้ที่ก่อให้เกิดปัญหามากหรือน้อยเพราะเราต่างต้องช่วยกันในการแก้ไขสิ่งที่เกิดขึ้น อุตสาหกรรม / ครัวเรือน
ข้อจำกัดของความตระหนักในระดับที่ 1 • ส่วนมากแต่ละคนจะมองว่าสิ่งที่เราทำเป็นเพียงส่วนเล็กนิดเดียวทำให้ไม่เห็นความสำคัญหรือ ไม่คิดว่าการเปลี่ยนแปลงตนเองจะมีผลอะไร • หลายคนคิดว่าเทคโนโลยีช่วยได้เสมอ
ระดับที่ 2 การใช้ทรัพยากรของประชากรที่มีจำนวนมากเกินไป • ประชากรที่เพิ่มขึ้นย่อมส่งผลต่อสภาพแวดล้อม • แต่ความรุนแรงจะขึ้นกับลักษณะ หรือ ปริมาณทรัพยากรที่ใช้ของแต่ละบุคคลด้วย • 26%ของประชากรมนุษย์คือผู้ใช้ทรัพยากรประมาณ 80% ของทั้งหมดบนโลก
Global Consumption, 2004 (in billion US dollars) Source: EarthTrends, 2007.
ระดับที่ 2 การใช้ทรัพยากรของประชากรที่มีจำนวนมากเกินไป สิ่งที่ต้องทำ ควบคุมจำนวนประชากร และ ลดการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง (matter and energy)
ระดับที่ 3Spaceship Earth • ความตระหนักในระดับนี้มองโลกเหมือนกับยานที่จะพามนุษย์เดินทางไปพร้อมกัน มนุษย์เป็นผู้ควบคุมยาน แต่จะต้องมีการควบคุมจำนวนประชากรและการใช้ทรัพยากรให้มีความเหมาะสม อย่างไรก็ตามสิ่งนี้จะเป็นไปได้ก็ต่อเมื่อผู้นำทางการเมืองและประชาชนส่วนใหญ่เห็นความสำคัญ • เป้าหมาย ใช้เทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์ และ การเมืองในการควบคุมจำนวนประชากรและมลภาวะและการใช้ทรัพยากร เพื่อลดภาระที่จะเกิดขึ้นแก่ระบบนิเวศ (environmental overload)
ข้อจำกัดของความตระหนักในระดับที่ 3 • มนุษย์พยายามที่จะเปลี่ยนแปลง และควบคุมสภาพแวดล้อมให้เข้ากับตนเองมากที่สุด จึงเป็นความพยายามที่จะควบคุมโลก • การควบคุมจำนวนประชากร หรือปริมาณของทรัพยากรที่จะใช้ย่อมเป็นการลดทอนสิทธิส่วนบุคคล หรือความสะดวกสบายของมนุษย์ไปด้วย • การพยายามควบคุมธรรมชาติอาจทำให้เกิดปัญหาขึ้นในอนาคตเนื่องจากเราไม่มีความรู้ที่จะสามารถอธิบายการทำงานของระบบนิเวศทั้งโลกได้จึงอาจเกิดผลกระทบในอนาคต Shallow Ecology
Arne Nasse • Norwegian philosopher • Shallow and Deep ecology Shallow Ecology 1970 มนุษย์มีความสำคัญกว่าสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในระบบนิเวศโลก สิ่งมีชีวิตอื่นๆ และสิ่งมีชีวิตอื่นและส่วนประกอบอื่นของโลกเป็นทรัพยากรสำหรับมนุษย์ “Anthropocentric”
Arne Nasse • Norwegian philosopher • Shallow and Deep ecology Deep ecology1973 มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของโลก เราจึงควรอยู่โดยก่อให้เกิดผลกระทบต่อธรรมชาติให้น้อยที่สุด ดังนั้นจะต้องมีการควบคุมจำนวนประชากรมนุษย์ และลดการใช้เทคโนโลยี เปลี่ยนไปดำรงชีวิตแบบใกล้ชิดธรรมชาติ “Ecocentric”
ระดับที่ 4 โลกที่ยั่งยืน (Sustainable Earth) ความตระหนักและจิตสำนึกในการรักษาสภาพแวดล้อมในระดับนี้อยู่บนพื้นฐานของแนวความคิดเกี่ยวกับ deep ecology
ระดับที่ 4 โลกที่ยั่งยืน (Sustainable Earth) มนุษย์ต้องตระหนักว่า • สิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกล้วนมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน • หน้าที่ของมนุษย์มิใช่การควบคุมธรรมชาติ แต่เป็นการทำงานร่วมกับธรรมชาติเพื่อให้บรรลุถึงความต้องการของมนุษย์โดยอยู่บนพื้นฐานของนิเวศวิทยา • เนื่องจากสิ่งมีชีวิตบนโลกมีความหลากหลายมาก การพยายามที่จะควบคุมอาจก่อให้เกิดผลกระทบได้ในภายหลัง • เป้าหมายหลักของการรักษาสภาพแวดล้อมควรจะเป็นเพื่อเก็บรักษาลักษณะทางนิเวศวิทยา ความยั่งยืน และ ความหลากหลายสำหรับทุก species • ลักษณะของการคัดเลือกโดยธรรมชาติควรเป็นตัวกำหนดว่าสิ่งมีชีวิตใดจะอยู่ได้หรือไม่ได้ ไม่ใช่เทคโนโลยี • มนุษย์ไม่มีสิทธิที่จะไปรบกวนการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตอื่น ยกเว้นการนำมาใช้ประโยชน์เพื่อการดำรงชีวิต
Color of the environmentalism • แนวคิดเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มใหญ่ Light green Dark green Bright green grey
Color of the environmentalism • แนวคิดแบบ grey environment ไม่เชื่อว่ามีความจำเป็นที่จะต้องทำอะไรเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมไม่ว่าจะในระดับของบุคคล หรือ สังคม grey
Color of the environmentalism • แนวความคิดแบบ light green การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมทุกอย่างเริ่มต้นจากตัวเรา โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดำรงชีวิต Light green
Color of the environmentalism • แนวความคิดแบบ light green การเปลี่ยนแปลงเล็กๆ จากหลายๆคนย่อมส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในภาพรวมทั้งหมดด้วย Light green
Color of the environmentalism • แนวความคิดแบบ Dark green ปัญหาสิ่งแวดล้อมจะแก้ได้ ต่อเมื่อมี การควบคุมจำนวนประชากร ลดการใช้ทรัพยากร (รวมถึงลดระบบการผลิตแบบอุตสาหกรรม) ส่งเสริมให้ใช้สินค้าและทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น สนับสนุน deep ecology เน้นการแก้ปัญหาในระดับท้องถิ่น Dark green
Color of the environmentalism • ซื้อพืชผลทางการเกษตรในท้องถิ่น • ลดการใช้ของจากโรงงานอุตสาหกรรม Dark green ????
Color of the environmentalism • แนวคิดแบบ bright green Alex Steffen (2003) เทคโนโลยีหรือสิ่งประดิษฐ์ที่เหมาะสม คือ การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมนุษย์ยังสามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างเป็นสุข Bright green
Color of the environmentalism • Sustainable innovation green energy electric automobile nanotechnology closed loop material cycle Bright green
ในปัจจุบันแนวทางในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมมักใช้แนวทางของทั้ง light green, dark greenและbright greenรวมกัน แล้วพวกเราจะมีส่วนร่วมได้อย่างไร