80 likes | 168 Views
Knowledge Management ; KM. Knowledge Management. การบริหารความรู้ในองค์กร หัวใจของธุรกิจที่พึ่งพาระบบสารสนเทศ ใช้ความรู้เป็นหลักในการดำเนินธุรกิจโดยผลิตสินค้าหรือบริการที่มีนวัตกรรมหรือต้นทุนต่ำกว่าคู่แข่ง
E N D
Knowledge Management ; KM Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Management การบริหารความรู้ในองค์กร • หัวใจของธุรกิจที่พึ่งพาระบบสารสนเทศ ใช้ความรู้เป็นหลักในการดำเนินธุรกิจโดยผลิตสินค้าหรือบริการที่มีนวัตกรรมหรือต้นทุนต่ำกว่าคู่แข่ง • ทรัพย์สินทางปัญญามีความสำคัญต่อการได้เปรียบในการแข่งขันและสร้างความอยู่รอดได้มากกว่าทรัพย์สินอื่นๆขององค์กร Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Management • ความรู้จึงกลายเป็นเครื่องมือหรือกลยุทธ์สำคัญในการบริหารกิจการสมัยใหม่ในยุคดิจิตอล • องค์กรที่มีความรู้ ความสามารถจะมีประสิทธิภาพในการทำงานมากกว่าขึ้นกว่าเดิม • จึงควรเพิ่มพูนความรู้ให้แก่องค์กรผ่านกลไกการเรียนรู้ในหลากหลายรูปแบบ เช่น กระบวนการลองผิดลองถูก กระบวนการวิจัย การรวบรวมความรู้จากสื่อดิจิตอลหรืออินเทอร์เนต ฯลฯ Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge ManagementDefinition “กระบวนการที่องค์กรพัฒนาขึ้นมาเพื่อนำมา สร้าง รวบรวม เก็บรักษา บำรุงรักษา และเผยแพร่ความรู้ขององค์กร” (Laudon and Laudon,2002) • โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือหลักในการบริหารความรู้และกระบวนการเรียนรู้ • บางองค์กรขาดกระบวนการบริหารที่ดี ทั้งๆที่มีความรู้อยู่อย่างมากมาย ,So…กระบวนการบริหารความรู้ที่ดี คือ • กระบวนการเก็บรวบรวมความรู้ (Capture & Codifying Process) • กระบวนการแจกจ่ายความรู้ (Distribute & Share of Knowledge) Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Work System ;KWS ระบบงานภูมิปัญญา (KWS) • ระบบที่อำนวยความสะดวกในการไหลเวียนข้อมูล ข่าวสารภายในองค์กร ทำให้องค์กรมีความเข้าใจและตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ได้แก่ ระบบงานองค์กร ระบบเครือข่ายภายใน ภายนอกองค์กร ระบบฐานข้อมูล ระบบเหมืองข้อมูล โปรแกรมประยุกต์สำหรับการสื่อสารระหว่างกัน(Chatting Program ;MSN,ICQ or Lotus Note) • องค์กรที่มีการใช้ IT เพื่อการบริหารข้อมูลข่าวสารเหล่านี้ จึงนิยมเรียกว่า องค์กรดิจิตอล (Digital Firm) Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Work System ;KWS ลักษณะของฐานความรู้ในองค์กร • ความรู้ภายในองค์กรที่มีโครงสร้าง เช่น คู่มือการใช้งาน (manual) ,รายงานการวิจัย • ความรู้ภายนอกองค์กร เช่น ข้อมูลคู่แข่ง สภาวะตลาด อัตราดอกเบี้ย • ความรู้โดยนัย (Tactic Knowledge) • เป็นความรู้ที่ไม่มีโครงสร้าง ไม่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร รู้เองได้โดยนัย Kulachatr C. Na Ayudhya
IT Infrastructure for Knowledge Management กระจายความรู้ แบ่งปันความรู้ ระบบงานสำนักงาน - ระบบการไหลเวียน ข่าวสาร - ระบบงานเอกสาร - การพิมพ์เอกสาร - ปฏิทินอิเล็กทรอนิกส์ การประสานงานระหว่างกลุ่มและระบบสนับสนุน ระบบแลน อินทราเนต ระบบงานที่ต้องการใช้ความรู้ - คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ - ระบบงานเสมือนจริง ระบบปัญญาประดิษฐ์ - ระบบผู้เชี่ยวชาญ เก็บรวบรวมและสร้างรหัสความรู้ใหม่ สร้างความรู้ เครือข่าย ฐานข้อมูล หน่วยประมวลผล ซอฟท์แวร์ อินเทอร์เนต Laudon , Laudon ,2002 Kulachatr C. Na Ayudhya
Knowledge Work System ;EX ตัวอย่างระบบงานภูมิปัญญา • CAD/CAM • ช่วยในงานการออกแบบทางอุตสาหกรรม • Virtual Reality System • ช่วยสร้างรูปภาพกราฟฟิกเสมือนจริง • Investment Workstation • เครื่องมือช่วยวิเคราะห์สถานการณ์ทางการเงิน Kulachatr C. Na Ayudhya