710 likes | 1.11k Views
Forest. ของป่า. ป่าฝนของโลก. โครงสร้างของป่าฝน. ความสัมพันธ์แบบห่วงโซ่อาหาร. วัฏจักรน้ำ. แหล่งแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างพื้นดินกับบรรยากาศ. โคลนถล่มที่บ้านน้ำก้อ จ.เพชรบูรณ์. ป่าพรุ ( Peat Swramp Forest). สถานการณ์ไฟไหม้ป่าพรุโต๊แดง ระหว่างวันที่ 16 เมษายน - 3 พฤษภาคม 2547
E N D
ความสัมพันธ์แบบห่วงโซ่อาหารความสัมพันธ์แบบห่วงโซ่อาหาร
แหล่งแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างพื้นดินกับบรรยากาศแหล่งแลกเปลี่ยนก๊าซระหว่างพื้นดินกับบรรยากาศ
โคลนถล่มที่บ้านน้ำก้อ จ.เพชรบูรณ์
ป่าพรุ (Peat Swramp Forest)
สถานการณ์ไฟไหม้ป่าพรุโต๊แดง ระหว่างวันที่ 16 เมษายน - 3 พฤษภาคม 2547 พื้นที่เสียหายทั้งสิ้นประมาณ 2,080 ไร่
น้ำบนพื้นผิวโลก: มีประมาณ 1,360 ล้านลูกบาศก์กิโลเมตร • ร้อยละ 97 น้ำเค็ม • ร้อยละ 3 หรือประมาณ 37 ล้านลูกบาศก์กิโลเมตร เป็นน้ำจืด แต่ปริมาณน้ำจืดส่วนใหญ่ประมาณ 3 ใน 4 เป็นน้ำแข็งอยู่ในบริเวณขั้วโลก • นอกจากจะพบน้ำบนพื้นผิวโลกแล้ว ยังพบน้ำอีกส่วนหนึ่งในชั้น mantle ของเปลือกโลก น้ำในส่วนนี้มีปริมาณเป็น 16 เท่าของน้ำบนผิวโลก และไม่สามารถนำมาใช้ได้
ทะเลสาบ (Lake) เป็นแหล่งน้ำปิดที่อาจเกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือคนสร้างขึ้นก็ได้ มีพื้นที่กว้างและลึก ทะเลสาบธรรมชาติ ได้แก่ ทะเลสาบสงขลา ในจังหวัดสงขลา ส่วนทะเลสาบที่คนสร้างขึ้น ได้แก่ อ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อนต่างๆ เช่น เขื่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น บึง (swamp) คือ ที่ลุ่มที่มีน้ำท่วมตลอดปี และ มีต้นไม้ใหญ่ ขึ้นอยู่โดยรอบบริเวณบึง มีความลึกพอประมาณ ได้แก่ บึงบรเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์ หนอง (marsh) คือ ที่ลุ่มมีน้ำท่วมบางฤดูกาล แต่ไม่ตลอดปี เป็นแหล่งน้ำตื้นๆ บริเวณรอบๆ หนองน้ำจะมีพืชล้มลุกขึ้นอยู่โดยรอบ หนองน้ำส่วนใหญ่จะอยู่ใกล้เคียงหรือติดกับแม่น้ำ บ่อ (pond) คือ แหล่งน้ำที่ถูกสร้างขึ้นโดยคน มีขนาดเล็ก บ่อที่ถูกสร้างขึ้นจะมีวัตถุประสงค์แตกต่างกันไป เช่น เป็นบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เป็นที่เก็บน้ำสำหรับการอุปโภค บริโภค ส่วนน้ำที่ไหลอยู่ในลำธารและแม่น้ำนั้น คือ กระบวนการที่น้ำจากฝนตกลงมาบนพื้นดินไหลกลับสู่ทะเล หรือแหล่งน้ำ กระบวนการไหลกลับดังกล่าว เรียกว่า runoff
การกรองรังสีของบรรยากาศการกรองรังสีของบรรยากาศ
องค์ประกอบของบรรยากาศองค์ประกอบของบรรยากาศ
องค์ประกอบของบรรยากาศของโลก และดาวเคราะห์เพื่อนบ้าน
ภาวะเรือนกระจกช่วยทำให้โลกอบอุ่นภาวะเรือนกระจกช่วยทำให้โลกอบอุ่น
ปัจจัยที่ทำให้ภูมิอากาศโลกเปลี่ยนแปลงปัจจัยที่ทำให้ภูมิอากาศโลกเปลี่ยนแปลง
ปริมาณ CO2ที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี
อัตราการเพิ่มพลังงานของก๊าซเรือนกระจกอัตราการเพิ่มพลังงานของก๊าซเรือนกระจก
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและระดับน้ำทะเลความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและระดับน้ำทะเล
การหมุนเวียนของน้ำในมหาสมุทรการหมุนเวียนของน้ำในมหาสมุทร
ก๊าซโอโซนในบรรยากาศชั้นสตราโตสเฟียร์ ทำหน้าที่ดูดกลืนรังสีอุลตราไวโอเล็ตซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต ไม่ให้ตกกระทบถึงพื้นผิวโลก ในปี พ.ศ.2525 นักวิทยาศาสตร์ได้ตรวจพบรูโหว่ขนาดใหญ่ของชั้นโอโซน เหนือทวีปแอนตาร์คติก ขั้วโลกใต้ ซึ่งเกิดจากกระแสลมพัดคลอรีนจากสาร CFC เข้ามาสะสมในก้อนเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์ ในช่วงฤดูหนาวเดือนพฤษภาคม – กันยายน (ขั้วโลกเหนือไม่มีเมฆในชั้นสตราโตสเฟียร์ เนื่องจากอุณหภูมิไม่ต่ำพอที่จะทำให้เกิดการควบแน่นของไอน้ำในอากาศ) เมื่อถึงเดือนตุลาคมแสงอาทิตย์กระทบเข้ากับก้อนเมฆ ปลดปล่อยคลอรีนอะตอมอิสระให้ทำปฏิกิริยากับโอโซน ทำให้เกิดรูโหว่
ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงช่องโอโซนเหนือทวีปแอนตาร์คติก บริเวณขั้วโลกใต้ในเดือนตุลาคม ระหว่างปี พ.ศ.2522 - 2543 ความหนาแน่นของชั้นโอโซนมีหน่วยวัดเป็น ด๊อบสัน (Dobson)
ระดับน้ำทะเลขณะเกิด เอลนีโญ/ลานีญา
การไหลเวียนของกระแสน้ำพื้นผิวการไหลเวียนของกระแสน้ำพื้นผิว
การไหลเวียนของกระแสน้ำลึกการไหลเวียนของกระแสน้ำลึก
สภาวะปกติ เอลนีโญ ลานีญา
การเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเลการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเล
การเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเลขณะเกิดเอลนีโญการเปลี่ยนแปลงระดับน้ำทะเลขณะเกิดเอลนีโญ
0 Earth-Sun Relations
0 Tectonic Settings and Volcanic Activity