840 likes | 2.18k Views
Dengue Hemorrhagic Fever. แพทย์หญิงวาสนา วินัยพานิช แผนกกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลอุตรดิตถ์. กิจกรรมที่ 2. อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพต้นน้ำ. Epidemiology DHF. Incidence : การระบาด พบได้ตลอดทั้งปีแต่พบมากในฤดูฝน ช่วงเดือนพค . –ตค . จำนวนผู้ป่วยสูงสุดอยู่ในช่วงมิย . -กค .
E N D
Dengue Hemorrhagic Fever แพทย์หญิงวาสนา วินัยพานิช แผนกกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
กิจกรรมที่ 2 อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพต้นน้ำ Epidemiology DHF • Incidence : การระบาด พบได้ตลอดทั้งปีแต่พบมากในฤดูฝน • ช่วงเดือนพค. –ตค.จำนวนผู้ป่วยสูงสุดอยู่ในช่วงมิย.-กค. • เมื่อติดเชื้อ Dengue ชนิดหนึ่ง จะมี Permanent immunity ต่อเชื้อ • ชนิดนั้น แต่มี cross protection ต่อชนิดอื่น ช่วงสั้น ๆ (6 – 12 เดือน) • DHF : 80 – 90% เกิดจาก Secondary infection • Ageพบในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี (max. 5 – 9 ปี) • ปัจจุบันพบในเด็กโต (10-14ปี)และผู้ใหญ่มากขึ้น • vector- ยุงลายบ้าน Aedes aegypti เป็น vector ที่สำคัญ • - ยุงลายบ้าน Aedes albopicfus ชอบวางไข่แหล่งน้ำธรรมชาติ
วงจรชีวิต “ยุงลาย” ระยะตัวเต็มวัย (ตัวยุง) อายุ 6-7 , 30-45 วัน ยุงกัดคนที่มีเชื้อ IP 8-12วัน ระยะไข่ 100 ฟอง/ครั้ง
กิจกรรมที่ 2 อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพต้นน้ำ เกิดจากติดเชื้อ Dengue Virus Dengue Virus เป็น RNA Virus มี 4 serotype Dengue 1 Dengue 2 Dengue 3 Dengue 4 ทั้ง 4 type มี Antigen ร่วมบางชนิด ทำให้ cross reaction ได้ ถ้าติดเชื้อชนิดใดแล้วมี permanent immunity ต่อ ชนิดนั้นแต่มี Partial Immunity ต่อ ชนิดอื่นช่วงสั้น ๆ (6-12mo)
Classification of Dengue illness (WHO) • Manifestation of The Dengue Syndrome • Dengue Virus Infection Asymptomatic (80 – 90%) Symptomatic Undifferentiated Fever (Viral Syndrome) Dengue Fever Dengue Hemorrhagic Fever without Hemorrhage Dengue Shock Syndrome with unusual Hemorrhage No shock
Clinical Criteriaในการ Diagnosis • Dengue Hemorrhagic Fever • 1) Fever • 2) TT + ve • Leukopenia • Thrombocytopenia • 5) Plasma leakage : • Hemoconcentration • Dengue Fever • 1) Fever • 2) TT + ve • Leukopenia • Thrombocytopenia • <100,000พบ 50%
กิจกรรมที่ 2 อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพต้นน้ำ Criteria Diagnosis of Dengue hemorrhagic Fever Clinical • 1)Fever : ไข้สูงลอย 2 – 7 วัน,หน้าแดง, ปวดกล้ามเนื้อ,คลื่นไส้อาเจียน • 2) Hemorrhagic diathesis • * TT + ve • * Other bleeding : petichia, epitaxis, GI bleed • 3) Hepatomegaly : D3 – 4 • 4) Circulatory disturbance or shock : พบ 30 – 40% Lab 1) Thrombocytopenia ( < 100,000 / mm3) 2) Hemoconcentration(Hct > 20%) /pleural effusion,ascitis
การตรวจทูนิเกต์ (การวัดความดัน และรัดแขนไว้ 5นาที) รอนาน 1นาทีแล้วค่อยอ่านผล Systolic + Diastolic 2 = 5 นาที
Tourniquet test กิจกรรมที่ 2 อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพต้นน้ำ Positive : > 10 จุด / 1 ตารางนิ้ว Sensitive Specificity Day 1 DHF ทำ TT 53% 75% Day 2 DHF ทำ TT 90% 77% Day 3 DHF ทำ TT 98% 74%
Tourniquet test กิจกรรมที่ 2 อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพต้นน้ำ False negative พบได้ใน ผู้ป่วยอ้วน ผู้ป่วยผอม เทคนิคไม่ดี (รัดแขนไม่กระชับ , ความดันไม่คงที่) ผู้ป่วยที่กำลัง shock
กิจกรรมที่ 2 อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพต้นน้ำ ปัจจัยที่ควบคุมความรุนแรงของโรค Primary infection Host :Ethics พบDHFในคนผิวขาวมากกว่า เด็ก<1ปี Abจากแม่มีผลต่อความรุนแรง Underlying dis.:DM, sickle cell,thalassemia สายพันธ์ของvirus
กิจกรรมที่ 2 อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพต้นน้ำ ปัจจัยที่ควบคุมความรุนแรงของโรค Secondary infection Host: heterotypic neutralizing Abจากการติดเชื้อ ครั้งแรกจะสร้างAb ที่ทำลายไวรัสต่างสายพันธ์ได้ ระยะสั้นๆ ถ้าได้รัยเชื้อต่างสายพันธ์ในช่วงที่การทำงานของAb ลดต่ำลงจะก่อให้เกิดenhancing Ab ส่งเสริมการเพิ่มจำนวนไวรัสในเซลเป้าหมายทำให้เกิดอาการรุนแรง
กิจกรรมที่ 2 อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพต้นน้ำ ปัจจัยที่ควบคุมความรุนแรงของโรค Secondary infection Host:ระยะห่างระหว่างการติดเชื้อครั้งแรกและการติดเชื้อซ้ำ มีการศึกษาพบว่าถ้าติดเชื้อครั้งแรกและครั้งที่ 2ห่างกันน้อยกว่า 5ปีจะพบอาการรุนแรงได้มากกว่า Virus:ลำดับการติดเชื้อ พบอาการรุนแรงใน การติดเชื้อครั้งที่ 2 ด้วย DEN2เป็นส่วนใหญ่
กิจกรรมที่ 2 อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพต้นน้ำ Pathophysiology of DHF Hepatomegaly and hepatic involvement • Replication of Dengue Virus ใน Kuffer Cellทำให้เกิด hepatitis • - AST สูงเป็น 2 –3 เท่า ASTสูงกว่า ALTวันที่5-7 ปกติในwk 2 • พบ Acute hepatic failureได้ ( AST/ ALT >200 )พบบ่อยใน profound shock /ได้รับยาบางอย่างซึ่งส่งเสริมให้เกิด Reye’s Syndrome • DVกระตุ้นให้เซลตับสร้าง cytokineดึงเอา NKcell และ lymphocyte เข้ามาและสร้าง IL6 กดการสร้าง coagulation factor
กิจกรรมที่ 2 อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพต้นน้ำ Pathophysiology of DHF : hemato พบbone marrow supression เริ่มพบ4-6วันหลังจาก ได้รับเชื้อและอยู่นาน 7- 10วัน กด myeloid precursors เกิด leukopenia ลดต่ำสุด ช่วงก่อนไข้ลง และ พบ atypica; lyphocytes 15-20% กดการสร้างcell ของ megakaryocyte ทำให้ thrombocytopenia พบ Platlet dysfunction และ coagulopathy
Cause of thrombocytopenia • กดการทำงานของBM จำนวน megakaryocyteลดลง • มีการทำลายของเกร็ดเลือดโดยระบบcomplement และมีantiplatelet autoantibody โดยพบว่าเป็นAb ต่อ NS1 • เกิดภาวะ DIC
Cause of bleeding กิจกรรมที่ 2 อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพต้นน้ำ มีการเพิ่มขึ้นของ capillary fragility Thrombocytopenia and platelet dysfunction Coagulopathy และอาจเกิด acute DIC ได้ มี Acute hepatic failure จะส่งเสริมภาวะDIC
Shock กิจกรรมที่ 2 อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพต้นน้ำ • เกิดจากสาเหตุ 2 ประการ • 1) Plasma leakage : • 2) Peripheral resistance • ซึ่งเกิดจาก mediator ต่างๆ ที่เพิ่มเป็นจำนวนมาก • ใน secondary infection enhancing antibody จะทำให้ virus • เข้าสู่ Langerhans cell และ monocyte ได้ง่ายขึ้น และจะกระตุ้น • ให้specific T lymphocytes สร้าง IF และ cytokine ต่างๆ
พยาธิสภาพของการติดเชื้อไวรัสเดงกีพยาธิสภาพของการติดเชื้อไวรัสเดงกี
กิจกรรมที่ 2 อนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพต้นน้ำ ระยะการดำเนินโรค • Fever stage : Fever, flush face, nausea, abdominal pain, myalgia • rash, bleeding, hepatomegaly, leukopenia , atypical lymphocyte(d4-6) 2) Leakage stage : Thrombocytopenia , Hctrising ,oliguria : pleural effusion , ascitis : Shock 3) Convalescent stage : A = good appetite : B = bradycardia,BPstable ,wide PP : C = convalescent rash พบ 30% : D = diuresis , hemodilution
ความรุนแรงของโรค Grade I มี Tourniquet test + ve Grade II Spontaneous hemorrhage : UGIH epitaxis ,hypermenorrhea Grade III Shock (ยังวัด BP ได้) Grade IV Profound Shock
ผลการตรวจ CBC มีความสำคัญ • WBC< 5000ไข้จะลงภายใน 24 ชม. • Plt <100,000 กำลังเข้าระยะวิกฤต • Hct เพิ่มขึ้น 10-20% กำลังเข้าระยะวิกฤต ต้องให้ สารน้ำ
Recent tool for diagnosis Antibody test : HI test ตรวจหา Ig G HI>1,280 ใน1infection และ HI>2,560 ใน2infection : ELISA test ตรวจหา IgM ≥40 Antigen detection : NS1 Ag testถ้า NS1 ≥600 ng/cc ใน 72 ชม.แรกน่าจะเป็น DHF : PCR สามารถแยกสายพันธ์ได้ ทำในงานวิจัย : Viral isolation (culture)
Treatment DHF • การลดไข้ ใช้paracetamolอย่างเดียวเท่านั้น(10mg/kg/dose) • ให้ห่างกันอย่างน้อย 4-6 ชม. และต้องเช็ดตัวลดไข้ร่วมด้วยเสมอ • ห้ามให้ ASAหรือ NSAID เพราะจะเกิดGI bleedได้ง่าย • อาหารอ่อนย่อยง่าย หลีกเลี่ยงอาหารสีดำ แดง และน้ำตาล • ดื่มนม น้ำผลไม้ และORS • IV fluid จะให้เมื่อมี moderate dehydration • Domperidoneถ้าอาเจียน /H2 blocker ถ้ามีHx PU • Antibiotics ไม่ควรให้เพราะเพิ่มrisk ในการแพ้ยา • นัดFU CBC ทุกวันเริ่มจากD3+แนะนำwarning sign
Admition criteria sever vomiting / fatique hemoconcentration 10 -20% afebrile + clinical sever shock : cold skin , sweating, oliguria conciouse change sever abdominal pain ผู้ปกครองกังวลมาก bleeding
การดูแลผู้ป่วยหนักแรกรับการดูแลผู้ป่วยหนักแรกรับ A: acidosis B: bleeding ให้cross match C: hypocalcemia S: blood sugar Other lab : BUN ,Cr. ,electrolyte LFT. , PT , PTT, INR
การดูแลผู้ป่วยที่มีอาการหนักแรกรับการดูแลผู้ป่วยที่มีอาการหนักแรกรับ • OXYGEN ถ้า O2 SAT< 95% • DTXถ้า< 60mg% ให้20-50%glucose 1-2 cc/kg • Vit k1 iv ถ้า INR>1.3ให้vitk5mg ติดต่อกัน 3วัน • Hct ถ้าต่ำ ให้G/Mประเมินซ้ำอีกครั้งใน1ชม.ว่าต้องให้หรือไม่ • LAB:CBC, BUN ,Cr. ,electrolyte ,LFT • hyponatremia,hypocalcemiaได้,metabolic acidosis(NaHCO3 1cc/kg)ถ้าช็อคนาน • 80% AST , ALTสูงขึ้นโดยASTสูงกว่า 2-3 เท่า AST/ALT>200 ระวัง liver failure • albumin<3.5ถ้ามีleakage • IV FLUID : 5%D/NSS : DEXTRAN ถ้า shock และมีอาการน้ำเกิน
การดูแลระยะวิกฤติ • การวินิจฉัยภาวะช็อก/leak ให้เร็วที่สุด • ยากถ้าไม่ได้วัดBPหรือจับpulse เนื่องจากช่วงแรกความรู้สึกตัวดี • ไข้ลง แต่ ชีพจรเบาเร็ว • Pulse pressure แคบ เช่น 100/80,110/90 • Capillary refill >2 sec • กระสับกระส่าย เอะอะโวยวาย พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง
การดูแลรักษาระยะวิกฤตการดูแลรักษาระยะวิกฤต • ให้ IV fluid ให้เมื่อมีHct เพิ่มขึ้น10-20%ร่วมกับ Plt100,000/cu.mm • ชนิดของIV fluid ต้องเป็นisotonic solution เท่านั้นเช่น 5%D/NSS,5%DAR,5%DLR แต่ถ้าProlong shock ไม่ควรมี dextrose • ถ้าเด็ก< 1 ปีให้5%D/N/2 ได้แต่ถ้า shock ให้5%D/NSSเหมือนกัน • ระยะเวลาให้IVไม่ควรเกิน24-48ชม. ถ้าไม่ดีขึ้นหลัง48 ชม.ควรระวัง complication
การดูแลรักษาระยะวิกฤตการดูแลรักษาระยะวิกฤต • เปลี่ยนIV fluid เป็น5%D/NSSถ้าPlt100,000 • การวินิจฉัยว่าผู้ป่วย shockให้ดูหลายอย่างประกอบกันไม่ใช่ดูHct สูงอย่างเดียว • ผู้ป่วยDHFgrade 3ให้load5%D/NSS10cc/kg/hr ไม่จำเป็นต้องให้ถึง20cc/kg/hr
ปริมาณFLUID ที่ให้ระยะ LEAKAGE (24-48ชม.) ผู้ป่วยน้ำหนัก <40 กก.ควรได้ IV= MT+5% Def. ผู้ป่วยน้ำหนัก>40 กก ควรได้ IV ประมาณ 2MT obesity ใช้ ideal BW : 2x+8 หรือ 7x-5 /2 ผู้ป่วยผู้ใหญ่คำนวณน้ำหนักที่ 50 กก.คิดtotal=4600 ไม่ควรสั่ง IV ล่วงหน้าเกิน 6 ชม. หรือสั่งเกิน 500 ซีซี ให้ volume replacment = keep effective circulatory volume
อัตราการให้IV FLUIDในเด็กเทียบกับผู้ใหญ่
อัตราการให้IV FLUIDในผู้ป่วยที่ไม่SHOCK • เริ่มiv rate ที่50% MT โดยที่BW<15 ให้ 2cc/kg/hr BW 15-40 ให้1.5cc/kg/hr BW>40ให้40cc/hr ถ้าHctเริ่มต้นสูงมากอาจเริ่ม iv rateที่ MT / MT+5%deficit(3-5cc/kg/hr) ถ้าเป็นผู้ใหญ่เริ่มที่ 40cc/hrปรับตามอาการ แต่ถ้าHctเริ่มต้นสูงมากเช่น 50-60%ควรเริ่ม iv rateที่80-100cc/hr หลังจากนั้นปรับตามอาการโดยส่วนใหญ่จะมีการรั่วเพิ่มขึ้นเรื่อยๆและ สูงสุดใน24 ชม. หลังจากนั้นอัตราการรั่วจะค่อยๆลดลงภายใน 48 ชม.
อัตราการให้ IV fluid ในผู้ป่วย DHF ที่ไม่มีอาการช็อก 7 ml/kg/hr 3 - 5 ml/kg/hr 15 ml/kg/hr
อัตราการให้IV FLUID ในผู้ป่วยเด็กที่SHOCK • DHF grade 3 ให้iv rate 10cc/kg/hr เมื่อ v/s ดีขึ้น ลด ivเมื่อครบ 1ชม. • DHF grade 4 ให้iv free flow 10-15 นาที(10cc/kg in 15นาที) ถ้าดีขึ้น ให้ iv rate 10cc/kg /hr นาน ½-1ชม. แล้วปรับลด iv เหมือนDHF grade 3 ในผู้ป่วยที่shockส่วนมากจะมีการรั่วของพลาสมาหลังจากเวลา ที่ช็อคประมาณ 24ชม. ปริมาณ total iv fluid ใน 24ชม. = MT+5%
อัตราการให้IV FLUID ในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่SHOCK • DHF grade 4ให้0.9%NSS free flow 10-15 นาที หลังจากที่เริ่มวัด BPได้ลดrate ivเหลือ300-500 cc/hr นาน1-2ชม • DHF grade 3 ให้5%D/NSS 300-500cc/hr นาน 1 ชม.ถ้าBPดีอาจลดเป็น 150cc/hrได้เลยหลังจากนั้นลดrate 5%D/NSS120 cc/hr นาน 1-2 ชม. • หลังจากนั้นลดrate5%D/NSS 80-100cc/hr นาน4-6 hr และค่อยๆปรับลด ตามอาการจนสามารถ off ivได้ใน 24ชม. • Inotropic drug ไม่มีที่ใช้ในผู้ป่วยDHFที่shock ในระยะแรกเนื่องจากจะมีผลเสีย ทำให้BP สูงขึ้นทั้งๆที่plasma volume ยังไม่เพียงพอ จะทำให้prolong shock
อัตราการให้ IV fluid ในผู้ป่วยไข้เลือดออกเด็งกี่ที่มีอาการช็อก (Dengue Shock Syndrome) ช่วงเวลาต่าง ๆ 10 – 5 ml/kg/hr 5 ml/kg/hr 3 ml/kg/hr 3 - 1 ml/kg/hr
การประเมินอาการเพื่อปรับrate ivfluid อาการทางคลินิกโดยทั่วไปเช่น ความอยากอาหาร ความรู้สึกตัว อาการปวดแน่นท้อง,lung sign ,abdominal distention,ผื่นตามตัว Vital sign: BT,BP,PP,PR ความแรงของpulseและcapillary refill F/U Hct q 4-6 hr และทำบ่อยขึ้นถ้ามีbleeding/ clinical unstable Urine out put 0.5-1 cc/kg/hr(q 8 hr)
การให้colloid solution Dose 10cc/kg/hrครบ1 hr Hctจะลดลง10%เมื่อให้ครบเปลี่ยน iv เป็น 5%D/NSSโดยลดrateลง Max dose 30cc/kg/dถ้ามากเกินBUN ,Cr สูงและมี coagulopathyได้ ถ้าได้ dextrane ไป 30cc/kg /day แล้วอาจพิจารณาให้สารอื่นที่มีosmole มากกว่า plasma ได้แก่ 10%Haessteril โดยให้ 10cc/kg/doseเหมือนกัน
ข้อบ่งชี้การให้colloid solution ได้5%D/NSS 10cc/kg/hr * 2 hr แล้วclinical shock ยังไม่ดีข้น ได้ crytalloidปริมาณมาก(เกิน MT+5%) แต่ v/s ไม่stable หรือลดrate ivไม่ได้ Hct ยังสูงมาก 6ชมแรก เกิน2เท่า ของMT+5% 6ชม.หลังshock ได้ivเกิน MT+5% ผู้ป่วยมีอาการน้ำเกิน เช่น ตาบวม ท้องอืด แน่นท้อง หายใจเร็ว decrease breath sound
ข้อบ่งชี้ในการให้เลือดข้อบ่งชี้ในการให้เลือด bleed > 10%TBV (60-80cc/kg) เช่นBW=10 TBV=8010=8OO ถ้ามีเลือดออกมากกว่า 80 ccควรขอเลือดมาให้ : FWB / PRC Thalassemia , G6PD def. ที่มี hemolysis / anemia Shock / ลดIVไม่ได้เลย แต่HCTปกติหรือต่ำ (35-45%) กรณีprolong shock liver failureถ้ามีPRเร็ว เช่นเด็กโต>130เด็กเล็ก>140และมี metabolic acidosis ให้คิดถึง internal bleeding เสมอ
HIGH RISK PATIENT อายุ<1ปี มักมี unusual manifestation +มีน้ำเกินได้ง่าย DHF grade 4 ที่มี organ failure,metabolic acidosisและelectrolyte imbalance ผู้ป่วยอ้วน มักมีปัญหาน้ำเกินและภาวะหายใจล้มเหลวอย่างรวดเร็ว ผู้ป่วยที่มี massive bleeding ผู้ป่วยที่มีอาการทางสมอง ผู้ป่วยมีโรคประจำตัวเช่นG6PD deficiency , thalassemiaโรคไต ,โรคหัวใจ
Bleeding in various organs Lungs Liver Heart Brain
การดูแลผู้ป่วยระยะฟื้นตัวการดูแลผู้ป่วยระยะฟื้นตัว • A: good appetite • B:BP stable , wide PP,bradycardia+full • C:convalescent rashตามแขนขาพบ 30%ของcase/isching • D:diuresis , hemodilution(38-40%) • หยุดให้ iv fluid ,ให้lasix เมื่อมีข้อบ่งชี้ • Bleeding precaution ให้ผู้ป่วยพัก ป้องกันการกระทบกระแทก ห้ามหัตถการที่รุนแรง แปรงฟันอย่างระมัดระวัง • ถ้ายังไม่อยากทานอาหารอาจเกิดจากท้องอืด bowel ileus จาก hypokalemia