1 / 73

รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ Assoc Prof Sunthorn Sotthibandhu, PhD(Manc)

รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ Assoc Prof Sunthorn Sotthibandhu, PhD(Manc). ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตอรรถกระวีสุนทร อำเภอหาดใหญ่ ๙๐๑๑๒. พื้นฐาน การศึกษา. หน้าที่การงานใน อดีต. วท.บ. – ชีววิทยาทางทะเล (จุฬาฯ).

shlomo
Download Presentation

รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ Assoc Prof Sunthorn Sotthibandhu, PhD(Manc)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รองศาสตราจารย์ ดร.สุนทร โสตถิพันธุ์ Assoc Prof Sunthorn Sotthibandhu, PhD(Manc) ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตอรรถกระวีสุนทร อำเภอหาดใหญ่ ๙๐๑๑๒ พื้นฐานการศึกษา หน้าที่การงานในอดีต วท.บ. – ชีววิทยาทางทะเล (จุฬาฯ)  หัวหน้าภาควิชาชีววิทยา MSc – Applied Entomology (Newcastle)  คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย PhD – Behavioural Ecology (Manchester)  รองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ Cert. in Theory & Practice in Higher Education (Monash) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและฝ่ายพัฒนานักศึกษา ประกาศนียบัตรหลักสูตรการบริหารอุดมศึกษา, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA)  อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัจจุบัน  อนุกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, กศธ.  อนุกรรมการส่งเสริมและติดตามการดำเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ, สกอ. กศธ.  อนุกรรมการปรับปรุงแก้ไขกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องกับการจัดตั้งและเปลี่ยนประเภทสถาบันอุดมศึกษาเอกชน  กรรมการจรรยาบรรณ มหาวิทยาลัยศิลปากร  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ คณะกรรมการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

  2. การเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษาที่เชื่อมโยงเข้าสู่อาเซียนการเปลี่ยนแปลงด้านการศึกษาที่เชื่อมโยงเข้าสู่อาเซียน Conception without perception is empty. Perception without conception is blind. Immanuel Kant ( 1724-1804) ๑. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาในปัจจุบัน ๒. ทักษะการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ (21st Century Skills) - สมรรถนะสากล (global competences) ๓. ประเด็นการศึกษาที่น่าจะปรับเปลี่ยนเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่อาเซียน

  3. หากท่านรู้จักศัตรู และรู้จักตัวเอง ท่านไม่ต้องกลัวผลของการรบในร้อยครั้ง If you know the enemy and know yourself, you need not fear the result of a hundred battles. Sun Tzu/ Sun Wu

  4. วิสัยทัศน์ภาพที่ประสงค์จะเป็นในอนาคตวิสัยทัศน์ภาพที่ประสงค์จะเป็นในอนาคต ช่องว่างที่ต้องการเชื่อมต่อ ช่องว่างเชิงกลยุทธ์ สถานภาพ สถานภาพปัจจุบัน ( 2556 ) เวลา

  5. Education in the largest sense is any act or experience that has a formative effect on the mind, character or , physical ability of an individual. In its technical sense, education is the process by which society deliberately transmits its accumulated knowledge, skills and values from one generation to another.

  6. ๑. กรอบมาตรฐานระดับอุดมศึกษาในปัจจุบัน คุณลักษณะ ๕ ด้าน ของผู้สำเร็จการศึกษา( graduate / pundit ) คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับชอบ ความสามารถและทักษะเหล่านี้ และผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นใช้กับทุกสาขา/สาขาวิชา นอกจากนี้หากสาขาใดประสงค์จะเพิ่มเติมความสามารถ/ทักษะเฉพาะ ย่อมกระทำได้ตามความจำเป็น

  7. รายวิชา (มคอ.๓)  หลักสูตร (มคอ.๒) ภาคสนาม (มคอ.๔)  กรอบมาตรฐานฯสาขา/สาขาวิชา ( มคอ.๑ )  รายงานฯ (มคอ.๕-๗) กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

  8. โครงการจัดทำกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย(Thai Qualifications Framework for Higher Education: TQF)(ที่มา: เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการจัดทำ TQF ของ สกอ.) แนวนโยบายเกี่ยวกับมาตรฐานของบัณฑิตและมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม  การประกันมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตให้สามารถเทียบเคียงกันได้กับสถาบันอุดมศึกษาทั้งในและต่างประเทศ  ช่วยสื่อสารให้สังคม ชุมชน เข้าใจถึงความรู้ ความสามารถ และทักษะต่างๆที่คาดหวังจากบัณฑิต รวมทั้งเกิดความเชื่อมั่นในคุณภาพและมาตรฐานการเรียนการสอนของสถาบันอุดมศึกษานั้นๆ

  9. ที่มาในการกำหนดคุณลักษณะ คุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา 1. การกำหนดลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้สำเร็จการศึกษา - พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 - ปรัชญาการศึกษา – มิติความดี + ความงาม + ความจริง - ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ความต้องการของนักศึกษา - ผลการวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย สังคมโลก - ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาต่างๆ 2. การกำหนดระดับความรู้ ความสามารถ และทักษะ 3. การกำหนดวิธีการผลิตบัณฑิต และวิธีการประเมินคุณสมบัติ ผลการวิจัย

  10. โครงการจัดทำกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยThai Qualifications Framework for Higher Education: TQF(ที่มา: เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการจัดทำ TQFของ สกอ.)  แนวนโยบายเกี่ยวกับมาตรฐานของบัณฑิตและมาตรฐานการจัดการเรียนการสอนตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม  การประกันมาตรฐานผลการเรียนรู้ของบัณฑิตให้สามารถเทียบเคียงกันได้กับสถาบันอุดมศึกษาทั้งในและต่างประเทศ  ช่วยสื่อสารให้สังคม ชุมชน เข้าใจถึงความรู้ ความสามารถ และทักษะต่างๆที่คาดหวังจากบัณฑิต รวมทั้งเกิดความเชื่อมั่นในคุณภาพและมาตรฐานการเรียนการสอนของสถาบันอุดมศึกษานั้นๆ

  11. คุณลักษณะบัณฑิตตาม TQF: HEd ส่วนที่ ๑  Ethical & moral development  Knowledge  Cognitive skills  Interpersonal skills & responsibility  Numerical analysis, communication & IT skills ปัจจัยในการสร้างคน ให้เป็น “บัณฑิต” • หลักสูตร • ผู้สอน –คุณวุฒิสูง รู้วิธีสอน • Curiosity • Creativity • Scientific skepticism • Commitment to hard work • Professional ethics •นักศึกษา –ทัศนคติ IQ •แหล่งเรียนรู้ • อุปกรณ์การเรียน/วิจัย • ความมั่นคงทางการเงิน คุณลักษณะของบัณฑิตวิทยาศาสตร์: ส่วนที่ ๒ • ระบบบริหารวิชาการ -องค์กรเข้มแข็ง + บัณฑิตศึกษา/วิจัย

  12. 1. Ethical & moral development 2. Knowledge 3. Cognitive skills 4. Interpersonal skills & responsibility 5. Numerical analysis, communication & IT skills Thai Qualifications Framework for Higher Education TQF HEd Domains of Learning These domains and the learning outcomes associated withthem apply to all fields of study. In addition, there are some fields in which highly developed physical skills are also necessary.

  13. “ต้นไม้วิวัฒนาการ” “ดอกผล” คือประดิษฐกรรมจากการประยุกต์ ความเข้าใจวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ฟิสิคส์ ฟิสิกส์ ชีววิทยา คณิตศาสตร์ เคมี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน (วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์พื้นฐาน) รากฐานบุคคล - ศิลปศาสตร์ - ปรัชญาวิทยาศาสตร์ - ทัศนคติวิทยาศาสตร์ - Information/Media literacy ฐานรากความเป็น pundit

  14. เปรียบเทียบ โครงสร้างการกระจายหน่วยกิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ สงขลา เกณฑ์กลางสาขาวิทย์ฯ/คณิตฯ หน่วยกิตรวม134  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป30  หมวดวิชาเฉพาะ 98 -วิชาแกน 28 -วิชาเฉพาะด้านบังคับ 44 -วิชาเฉพาะด้านเลือก 18 -ประสบการณ์ภาคสนาม 8  หมวดวิชาเลือกเสรี 6  หน่วยกิตรวม ≥120  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30  หมวดวิชาเฉพาะ ≥ 84 -วิชาแกนสาขา ≥24 -วิชาแกนสาขาวิชา ≥11 -วิชาเฉพาะด้านบังคับ ≥ 26 -วิชาเฉพาะด้านเลือก ≥23  หมวดวิชาเลือกเสรี 6  กลุ่มประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) โครงสร้างเป็นไปตาม ประกาศ ศธ. พ.ศ.๒๕๔๘: เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ป.ตรี

  15. การศึกษาทั่วไป ๓๐ น.ก. เกณฑ์กลาง = ๔๘% เกณฑ์กลาง = ๖๐ ชีวะฯแท้ๆ = ๔๑% แกนสาขา + ชีวะฯ = ๒๔ + ๒๘วิชาชีวะฯ = ๕๕ เลือกเสรี ๖

  16. สัดส่วนวิชาหมวดต่างๆ (คิดจากหน่วยกิตรวม120)

  17. สัดส่วนวิชาหมวดต่างๆ (ประมาณจากหน่วยกิตรวม 134) Domains of learning Ethical & moral development วิชาชีววิทยาแท้ๆ 55% Knowledge Cognitive skills Interpersonal skills & responsibility วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน + วิชาเลือก 23% Numerical analysis communication & IT skills การศึกษาทั่วไป 22%

  18. คุณลักษณะของบัณฑิตอุดมคติไทยที่พึงประสงค์องค์ประกอบของคุณลักษณะของบัณฑิตยุคใหม่ (๒๕๕๕) ๑. ด้านความรู้ -ความรู้และหลักคิดในศาสตร์ของตัว และเชื่อมโยง กับศาสตร์ได้และรู้ทันความเคลื่อนไหว, รู้ ๓ ภาษา ๒. ด้านทักษะ การคิด, ดำรงชีวิตและประกอบอาชีพ, Information literacy, ศาสตร์การจัดการ, การทำงานเป็นทีม, ความเป็นผู้นำ, ปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลง ๓. ด้านบุคลิก อุปนิสัย -พลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เข้าใจวัฒนธรรมข้ามชาติ มีคุณ-ธรรมจริยธรรม ใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา ( lifelong learning )

  19. ปริญญาตรี เป็นคนดี มีความสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ มีโลกทัศน์กว้าง มีจิตสาธารณะ ใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข BSc, BA, MBBS, MD, MSc, PhD แสวงหาประโยชน์(80%) แสวงหา ความหมาย(20%) วิชาชีพ ศิลปศาสตร์

  20. ผลการวิเคราะห์สังคมไทยโดยสภาพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจแห่งชาติผลการวิเคราะห์สังคมไทยโดยสภาพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจแห่งชาติ แผนพัฒนาคนและสังคมฉบับที่ ๘ (พ.ศ.๒๕๔๐-๒๕๔๔) ชี้จุดเด่นเกี่ยวกับคนไทยและสังคมไทยว่า “สังคมไทยเป็นสังคมที่มีพลังในการปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ มีความสงบสันติ อบอุ่นและเอื้ออาทร ตลอดจนไม่มีความขัดแย้งรุนแรง” นี่คือเรื่องราวบางส่วนที่รัฐบาลเสนอเป็นแผนพัฒนาสติปัญญาคนไทยในช่วงปี พ.ศ.๒๕๔๐-๒๕๔๔ หรือเมื่อประมาณ ๑๕ ปีที่แล้วขณะนี้กำลังจะใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๑ (๒๕๕๕-๒๕๕๙) จุดเด่นที่เคยชี้ว่า “......มีความสงบสันติ อบอุ่นและเอื้ออาทร ตลอดจนไม่มีความขัดแย้งรุนแรง” กลับกลายเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศ

  21. ผลการวิเคราะห์สังคมไทย (ต่อ) คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เสนอแผนพัฒนาฯฉบับที่ ๘(๒๕๔๐-๒๕๔๔) ระบุปัญหาที่เกี่ยวกับการศึกษาในบทที่ ๓ “แนวทางการพัฒนาสติปัญญา ทักษะฝีมือและการมีงานทำ ” ว่า “ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหารากฐานที่สำคัญคือเรื่องคุณภาพคน การดำเนินงานเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคมตั้งแต่แรกเกิดมาตามลำดับนั้นยังขาดการดูแลเอาใจใส่อย่างจริงจังและต่อเนื่องให้มีคุณภาพและครอบคลุมกลุ่มผู้ด้อยโอกาสอย่างทั่วถึง ลักษณะการดำเนินงานเพื่อพัฒนาการศึกษาในระยะที่ผ่านมายังมุ่งเน้นไปที่การก่อสร้างอาคาร การจัดหาอุปกรณ์และการขยายตัวของหน่วยงาน” และวิพากษ์การเรียนการสอนโดยสรุปว่า “......นอกจากนี้กระบวนการเรียนการสอนยังเน้นการคิดแบบแยกส่วน การท่องจำตำรา ใช้สื่อทางเดียว ขาดทักษะการวิเคราะห์แยกแยะ เหตุผล การศึกษาความจริงรอบตัว ผลการเรียนของเด็กไทยในวิชาพื้นฐานสำคัญคือคณิต-ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ มีแนวโน้มต่ำลง”

  22. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เรื่องสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการตอบสนองต่อปัญหาในเรื่องดังกล่าว สังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ การศึกษาเพื่อพัฒนาตนเองและประเทศ (Good individual & citizen) การเมือง ทรัพยากรธรรมชาติ

  23. วิสัยทัศน์ -ภาพที่ประสงค์จะเป็นในอนาคต ช่องว่างที่ต้องการเชื่อมต่อ ช่องว่างเชิงกลยุทธ์ สถานภาพ สถานภาพปัจจุบัน ( 2555 ) เวลา

  24. ๒. ทักษะการศึกษาในสตวรรษที่ ๒๑ (21st Century Skills) จิต ๕ ลักษณะสำหรับอนาคต 1. จิตเชี่ยวชาญ (Disciplined mind ) 2. จิตรู้สังเคราะห์ (Synthesizing mind) 3. จิตสร้างสรรค์ (Creating mind ) Howard Gardner is the John H. and Elisabeth A. Hobbs Professor of Cognition and Education at theHarvard Graduate School of Education. 4. จิตรู้เคารพ (Respectful mind) 5. จิตรู้จริยธรรม (Ethical mind) วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และ อธิป จิตตฤกษ์ (แปล)๒๕๕๔. ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑ แปล-จาก Bellanca, J & Brandt, R.(editors)(). 21st Century skills: rethinking how students learn.

  25. ทักษะแห่งอนาคตใหม่ การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ ๒๑ นโยบายใหม่ที่สนอง ความต้องการในศตวรรษที่ ๒๑ • ระบบเศรษฐกิจและชีวิตความเป็นอยู่ของเราทุกวันนี้ซับซ้อนกว่าที่หลายคนเข้าใจ • ความรู้เพิ่มพูนอย่างเหลือเชื่อในศตวรรษนี้ • ความรู้ด้านเทคโนโลยีเติบโตเกือบสองเท่าทุกๆสองปี • ความคิดที่ว่าเราเลือกข้อเท็จจริงจำนวนหนึ่งที่คนจำเป็นต้องรู้ แล้วแบ่งย่อยให้เรียนเป็นเวลา ๑๒ ปีไม่อาจเตรียมคนเพื่ออนาคตได้ • นักศึกษาทุกคนต้องพัฒนาความสามารถในการรู้คิดที่ซับซ้อนมากขึ้นจึงจะสามารถค้น วิเคราะห์ และใช้ข้อมูลเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆได้ (information literacy) • สื่อสารเป็น รวมทั้งการพูดได้หลายภาษา • รู้จักใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์ • ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

  26. External drivers for change •  Today’s learner will have 10–14 jobs by the age of 38. • Technical information doubles every two years. • “For students starting a 4 year program now this means half of what they learned in their first year of study may be outdated by their third year. “ • By 2010 the information will double every 72 hours. • The top ten jobs in 2010 did not exist in 2004. KarlFisch

  27. Global competences ( สมรรถนะสากล ) 1. Language competence( e.g. English, Chinese, Japanese, Bahasa ) 2. Computer competence 3. Educated person 4. Generalist~specialist 5. Life-long learning skills 6. Management skills 7. Shared values 8. Work well with people from culturally diverse background

  28. Naisbitt devotes a chapter each to a look at the telecommunications revolution, the tourism and travel industry, the emergence of new "codes of conduct" in business and politics, the burgeoning Chinese economy, and the increasing importance of Asia and Latin America in the global marketขplace. In each of these areas, he surveys the major trends and observes the "global paradox" at work — as the world becomes vastly more integrated, 1994, 304 pp. the small, agile, and informed players will profit the most. Naisbitt mentions, “60 % of the world’s mail is addressed in English, 85% of all international telephone conversations are in English, and 80% of all the data in the several 100 million computers in the world are in English.”

  29. Global Education: borderless world Association ofUniversities of Asia and the Pacific: Professor Dr. Wichit Srisa-an • English is becoming the universal language of the world. There is no more question regarding the immense importance these days of knowledge of the English language to all educational pursuits in all parts of the world. Even the French who guarded zealously the purity of the French language and promoted strongly the use of French language not only in Franco-phone countries, are now learning English if they are to function in the European Union. The millions of Chinese and Japanese are presently eagerly learning English • We have to admit that English language competency is a strategic asset in the global marketplace. It is not only the medium of global communication, but also the language of academic thought, scientific research, techno-logical development and the language of international trade and negotiations as well as recreation and entertainment. • Without the ability to read, understand and judge the value of information as well as use them, all the information will be of no value…

  30. Purpose and Expectations -I ๓. ประเด็นการศึกษาที่น่าจะปรับเปลี่ยนเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่อาเซียน • “Universities should seek to foster generally accepted values and behaviors such as honesty and racial tolerance. Within this mandate, several aims seem especially important:” • Ability to communicate ความสามารถในการสื่อสาร • Critical thinkingการคิดวิพากษ์ • Moral reasoningการใช้เหตุผลด้านศีลธรรม • Living with diversityใช้ชีวิตในความหลากหลาย • Living in a global societyใช้ชีวิตในสังคมโลกได้ • A breadth of interestขอบเขตความสนใจกว้าง • Preparing citizensการเตรียมตัวเป็นพลเมือง Derek Bok: Our Underachieving Colleges (2006)

  31. Purpose and Expectations -II “ Teachers and students were most likely to succeed when they had a strong grasp of the core concepts and ideas underlying the knowledge they needed……….” “Curricula that cut across the discipline boundaries are most likely to foster creativity, but they will produce little of value unless the students have a firm grasp of the central ideas and concepts in the underlying disciplines.” National Centre On Education and the Economy Tough Choices or Tough Times

  32. ASEAN = Association of Southeast Asian Nations ASEAN Economic Community = AEC

  33. จุดเด่นด้านเทคโนโลยี/การศึกษา-คนของแต่ละประเทศ อินโดนีเซีย : โทรคมนาคม ดาวเทียม open-source software เครื่องบิน อีเลคทรอนิกส์ประกอบ พลเมืองมาก คนมีลักษณะคล้ายไทย(อะไรก็ได้ : laissez- faire) มีมหาวิทยาลัยจำนวนมาก ต้องการร่วมมือกับไทยมาเลเซีย: Multimedia corridor, Cyber City, functional rubber, ปาล์มน้ำมัน, อีเลคทรอนิกส์ประกอบ Off-shore campus ของม.ตะวันตก พัฒนาไปสู่ศูนย์กลางอุดมศึกษาอิสลามของโลก มหาวิทยาลัยต้องการร่วมมือกับไทย

  34. จุดเด่นด้านเทคโนโลยี/การศึกษา-คนของแต่ละประเทศ สิงค์โปร์ : การวิจัยและการบ่มเพาะอุตสาหกรรม Hi-tech, Biopolis มหาวิทยาลัย(NUS, NTU),โพลีเทคนิค, อาชีวศึกษา คุณภาพสูง ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยชั้นนำ(MIT, Yale) มหาวิทยาลัยไม่ต้องการร่วมมือกับมหาวิทยาลัยไทย(ไทยไม่มีอะไรทางวิชาการให้สิงค์โปร์) นักศึกษาพูดได้หลายภาษา, มีวินัย, ทำงานหนัก พลเมืองน้อย รับคนหลายสัญชาติ ดูด High-IQ Risk-Taker ดูดสมองเยาวชนเอเซีย(จีน เวียตนาม ไทย)ให้ไปเรียนและทำงาน

  35. จุดเด่นด้านเทคโนโลยี/การศึกษา-คนของแต่ละประเทศ เวียตนาม : การลงทุนด้านไอที(เพราะนโยบาย, ความสามารถของคน) การลงทุนทางเทคโนโลยีนิวเคลียร์ คนขยัน ทำงานหนัก มี drive และ motivation สูง นโยบายเพื่อคนหมู่มาก (ใช้ความรู้ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีขับดัน) ตัวอย่างเช่น นโยบายเวียตนาม “สามลด สามเพิ่ม” สามลด: ลดการใช้ปริมาณเมล็ดพันธุ์ ลดการใช้ปุ๋ยเคมี ลดยากำจัดศัตรูพืช (ต้องใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี มีความยั่งยืน) สามเพิ่ม : เพิ่มผลผลิต เพิ่มรายได้ เพิ่มกำไร นโยบายเวียตนาม ความรู้และปัญญานำหน้า เงินตามหลัง นโยบายไทยใช้เงินขับดัน: นโยบายประกันราคา- จำนอง ข้าวและพืชผลเกษตร (ใช้เงินหว่าน ไม่ยั่งยืน) เงินนำหน้า ปัญญาตามหลัง

  36. จุดเด่นด้านเทคโนโลยี/การศึกษาของแต่ละประเทศไทย:จุดเด่นด้านเทคโนโลยี/การศึกษาของแต่ละประเทศไทย: 1) เกษตร, ธุรกิจเกษตร, อุตสาหกรรมอาหารและฐานเกษตร, อีเลคทรอนิกส์ประกอบ 2) Regional health service hub ( อาจดึงบุคคลากรจากการให้บริการคนไทย ) 3)การศึกษาพื้นฐานตกต่ำ คนไม่เรียนอาชีวศึกษา 4)กำลังแรงงานการศึกษาต่ำ แรงงานสายอาชีพมีน้อย แรงงานไม่รู้ภาษาต่างประเทศ ไม่มีการพัฒนากำลังงาน 5)นักศึกษาไม่เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ไม่ขยัน ไม่มี drive & motivation 6)การศึกษาให้วุฒิ แต่ไม่เพิ่ม productivity, employability, workability 7)ไทยเข้าสู่ aging society เร็ว 8) กำลังแรงงานจำนวนคงที่อีกประมาณ 30 ปี แต่จำนวนจะค่อยลดลง และกำลังแรงงานจะอายุมากขึ้น 9) ถ้าผลิตภาพยังต่ำ จะไม่สามารถสะสมความมั่งคั่งเพื่อกระจายรายได้ ไม่สามารถมี-สวัสดิการที่ดีทั้งส่วนตนและสังคม

  37. ระบบการผลักดันงานวิจัยในมหาวิทยาลัยระบบการผลักดันงานวิจัยในมหาวิทยาลัย การวิจัยหลังปริญญาเอก (postdoctoral research) นโยบายวิจัยและหน่วยสนับสนุน ดำรงตนอย่างสง่าในสังคมโลกอุดมศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนา ศูนย์เครื่องมือวิจัยกลาง ศูนย์วิจัย ความเป็นเลิศ แหล่งเรียนรู้ ศูนย์คอมพิวเตอร์ หลักสูตรนานาชาติ International programme  เพิ่มความ สามารถในการแข่งขันระดับนานาชาติ ศักยภาพอาจารย์สูงขึ้น นวัตกรรม วิจัยได้องค์ความรู้ บัณฑิตศึกษา มาตรฐานสากล - ฉันทะ/วัฒนธรรมวิจัย- แรงจูงใจ เช่น การยกย่อง, ให้ผลตอบแทนรูปแบบต่างๆ ภารกิจการสอน การพัฒนาประเทศ บ่มเพาะคนดี สมรรถนะสากล ศิลปวัฒนธรรม ยกระดับศักยภาพ ของชุมชน พัฒนา-ภูมิภาค/สังคม ได้ทักษะและประสบการณ์ตรง ฐานความรู้ระดับ ปริญญาตรีเข้มแข็ง ภารกิจบริการวิชาการ

  38. Learning Organization • There are varying definitions of a Learning Organization in published literature, although the core concept between them all remains clear and has been summarised by Pedler et al. as, “an organization that facilitates the learning of all its members and continuously transforms itself.” • Pedler et al later redefined this concept to “an organization that facilitates the learning of all its members and consciously trans-forms itself and its context”, reflecting the fact that change should not happen just for the sake of change, but should be well thought out. • Senge defines Learning Organizations as “Organizations where people continually expand their capacity to create the results they truly desire, where new and expansive patterns of thinking are nurtured, where collective aspiration is set free, and where people are continually learning to learn together.”

  39. Learning Organization • According to Senge 'learning organizations' are those organizations where (1) people continually expand their capacity to create the results they truly desire, (2) where new and expansive patterns of thinking are nurtured, (3) collective aspiration is set free, and (4) where people are continually learning to see the whole together. He argues that only those organizations that are able to adapt quickly and effectively will be able to excel in their field or market.  In order to be a learning organization there must be two conditions present at all times. (1) The first is the ability to design the organization to match the intended or desired outcomes and (2) second, the ability to recognize when the initial direction of the organization is different from the desired outcome and follow the necessary steps to correct this mismatch. Organizations that are able to do this are exemplary.

  40. The Learning Manager:Five Disciplines to Develop 1. Systems thinking:the big picture 2. Shared vision: common purpose 3. Challenging mental models:question current thinking that prevents change 4. Personal mastery: know job, people, processes at very deep level; intimate with work. 5. Team learning:help group succeed, rather than pursuing individual goals

  41. An organization in which everyone is engaged in identifying and solving problems, enabling the organization to continuously experiment, improve, and increase its capability. Learning Organization

  42. Globalization Environmental Scanning Competition Cooperation Customer oriented Trade Single market Politics สภาวะที่ต้องเผชิญ Democratic wind Culture Global village Education Internationalization

  43. The move from Egocentrism to Allocentrism ( Kohlberg’s Model)  Egocentrism Self in relation to power of authority 100% Sociocentrism - Allocentrism Self as member of family 50% Self Versus Society Responsible part of society Responsible part of humanity Self as member of society TRANSITION

  44. ชีวิตที่งดงาม ให้ถือประโยชน์ส่วนตัวเปนที่สองประโยชน์ของเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หนึ่ง ลาภ ทรัพย์ และเกียรติ จะตกมาแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งอาชีพย์ไว้ให้บริสุทธิ 

  45. Herbert Spencer เฮอเบิร์ต สเปนเซอร์ มองโลกนี้ว่าประกอบด้วยกิจกรรม ๕ ด้านได้แก่ - ภารกิจเพื่อความอยู่รอด - ประกอบอาชีพ - การเลี้ยงดูบุตรธิดา - รักษาความสัมพันธ์ที่เหมาะสม ทางสังคมและการเมือง - การใช้เวลาว่างเพื่อความสุข Born27 April 1820)Died8 December 1903 (aged 83)School/tradition:Evolutionism, Positivism, Classical liberalismMain interests:Evolution, Positivism, Laissez-faire, utilitarianismNotable ideas:Survival of the fittest

  46. Fishbone Diagram (regular) การศึกษาทั่วไป Category 1 Factor กลุ่มวิชา ๑ Factor กลุ่มวิชา ๒ Factor เส้นทางหลัก (เรียนวิชาชีพ) จุดหมาย กิจกรรม ๒ Factor Factor กิจกรรม ๑ Category 3 กิจการนักศึกษา

  47. การเรียนรู้หมายถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่นักศึกษาพัฒนาขึ้น-ในตนเองจากประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการศึกษาการเรียนรู้หมายถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่นักศึกษาพัฒนาขึ้น-ในตนเองจากประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างการศึกษา In psychology and education, learning is commonly defined as a process that brings together cognitive, emotional, and environmental influences and experiences for acquiring, enhancing, or making changes in one's knowledge, skills, values, and world views ( Illeris, 2000; Ormorod, 1995). การเรียนรู้  Cognitive  emotional  environmental  experience knowledge, skills, values, and world views ถูกจัดเป็นระบบการศึกษา มีสถาบัน ทำให้เกิดการเรียนรู้ในคนหมู่มากได้

  48. Core Learning Capabilities of Organizations ASPIRATION - personal mastery – shared vision UNDERSTANDING COMPLEXITIES - systems thinking REFLECTIVE CONVERSATION - mental models - team learning Adapted from: Senge, Peter 1994. The Fifth Discipline

  49. เหตุผลในการดั้นด้นเข้ามาเรียนในมหาวิทยาลัยเหตุผลในการดั้นด้นเข้ามาเรียนในมหาวิทยาลัย การสั่งสมความรู้ความสามารถใน ระบบมหาวิทยาลัย อาจารย์ แหล่งค้นคว้า: ห้องสมุด, พิพิธภัณฑ์, ระบบอินเตอร์เน็ต กิจกรรมวิชาการ –วิจัย, การประชุมวิชาการ, บรรยายพิเศษ กิจการนักศึกษา - องค์การ/สโมสรนักศึกษา(student governance) - กิจกรรมนักศึกษา(student activities -clubs)

  50. Modern history sourcebook: John Henry Newman: The Idea of a University, 1854. 2. มหาวิทยาลัยคือสถานที่เช่นไร และมีทรัพย์สินอะไร?What is a University? • From its ancient designation, it is a Studium Generale OR “School of Universal Learning”. This description implies the assemblage of strangers from all parts in one spot –from all parts; else, how will you find professors and students for every department of knowledge? • A university, in essence, is a place for the communication and circulation of thought, by means of personal intercourse. • A university is a place of concourse, whither students come from every quarter for every kind of knowledge. You cannot have the best of every kind everywhere; you must go to some great city or emporium for it.

More Related