330 likes | 1.26k Views
Lot By Lot Acceptance Sampling. Single Plan. Kawinthorn Saicharoen. ของเสีย. ของดี. ถ้าภาพนี้คือ สินค้าที่คุณได้รับมอบมาจากผู้ขาย. จะยอมรับหรือไม่ ?. วิธีการที่จะตรวจสอบและตัดสินใจ. มีวิธีในการตรวจสอบ 3 วิธี. 1. ยอมรับโดยไม่ต้องมีการทดสอบ 2. ทำการทดสอบ 100% 3. Acceptance Sampling.
E N D
Lot By LotAcceptance Sampling Single Plan Kawinthorn Saicharoen
ของเสีย ของดี ถ้าภาพนี้คือ สินค้าที่คุณได้รับมอบมาจากผู้ขาย จะยอมรับหรือไม่ ?
วิธีการที่จะตรวจสอบและตัดสินใจวิธีการที่จะตรวจสอบและตัดสินใจ มีวิธีในการตรวจสอบ 3 วิธี 1. ยอมรับโดยไม่ต้องมีการทดสอบ 2. ทำการทดสอบ 100% 3. Acceptance Sampling
เราจะใช้ การสุ่มตัวอย่างเมื่อ 1. เมื่อเป็นการทดสอบ แบบทำลาย 2. เมื่อ ทำการตรวจสอบ 100% มีต้นทุนสูงมาก 3. ไม่สามารถทำการตรวจสอบ 100% ได้ 4. ไม่รู้ระดับคุณภาพสินค้าของผู้ขาย 5. ผู้ค้ามีประวัติคุณภาพดีแต่ยังไม่ถึงขั้นไม่ต้องตรวจ 6. ประวัติผู้ค้าดีมากๆ แต่เสี่ยงมากถ้าไม่ตรวจ
ทำการสุ่มเพื่อการยอมรับเพื่ออะไร ? วัตถุประสงค์ของการทำ การสุ่มเพื่อการทดสอบ 1. เพื่อป้องกันการยอมรับของเสีย 2. เพื่อป้องกันการปฏิเสธของดี 3. เพื่อนำข้อมูลมาใช้เป็นประวัติคุณภาพ 4. เป็นแรงกระตุ้นทางเศรษฐกิจ
สุ่ม Sampling Lot ตัดสินใจ วัดผล ทดสอบ Summary Attribute / Variable มีหลักการอยู่ 3 ประการที่ต้องรักษาอย่างเคร่งครัด 1 สินค้าที่นำมาทดสอบต้องเกิดจากการสุ่มเท่านั้น 2 ผลจากการสุ่มเพื่อการยอมรับหรือปฏิเสธรุ่นเฉพาะรุ่นนั้นเท่านั้น 3 เป็นแค่เครื่องมือในการตรวจสอบ
เมื่อทำการเปรียบเทียบกับ 100%Inspection ข้อดี ข้อเสีย 1 ประหยัด 2 ทดสอบแบบทำลายได้ 3 ผลทางจิตวิทยาเมื่อส่งคืนทั้ง lot 1 เสี่ยงในการตัดสินใจ 2 ได้รับข้อมูลน้อยกว่าเมื่อเทียบกับ 100 % Inspection 3 เป็นการเพิ่มขั้นตอนในการทำงาน ด้านเอกสาร
Classification of acceptance sampling plans Acceptance sampling plans By attributes By variables Item sampling Single Double, multiple Sequential Bulk sampling Types of Acceptance sampling plan
Sampling by attributes concept n sampling Inspect & count number of defectives Acceptance number c Accept lot Reject lot N
อักษรย่อ และ นิยาม • AQL = Acceptable Quality Level (จุดของผู้ขาย) • เป็นระดับคุณภาพต่ำสุดที่ลูกค้ายอมรับได้ที่ Pa = (1-a) • AQLเป็นสัดส่วนของเสียที่แย่ที่สุดที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต • LTPD = Lot Tolerance Percent Defective (จุดของผู้ซื้อ) • เปอร์เซ็นต์ของเสียที่ยอมรับได้ในรุ่น ที่ Pa = b • LTPDเป็นสัดส่วนของเสียที่ผู้ซื้อเป็นผู้กำหนด
ACCEPTANCE SAMPLING FOR ATTRIBUTE ใช้กับข้อมูลที่เป็นการบ่งถึงคุณสมบัติ (ดี - เสีย) SINGLE SAMPLING PLAN มี 2 ตัวแปรที่สนใจคือ n คือ ขนาดของ SANPLE SIZE C คือ ของเสียสูงสุดที่ยอมรับได้ เช่น รับมอบสินค้าขนาด 300 ชิ้น/lot ทำการสุ่ม n = 50 ชิ้น ของเสียที่ยอมรับได้ C = 1 ชิ้น
Lot N=300 สุ่ม n = 50 C <= 1 REJECT ACCEPT NO YES ACCEPTANCE SAMPLING FOR ATTRIBUTE SINGLE SAMPLING PLAN
การออกแบบแผนการสุ่มชักตัวอย่างการออกแบบแผนการสุ่มชักตัวอย่าง แผนการสุ่มชักตัวอย่างเป็นการแจกแจงแบบทวินามมีค่าเปลี่ยนแปลงตามสัดส่วนของเสีย เมื่อ Paคือ ความน่าจะเป็นในการยอมรับ p คือ สัดส่วนของเสีย
การออกแบบแผนการสุ่มชักตัวอย่างการออกแบบแผนการสุ่มชักตัวอย่าง เมื่อนำสมการการแจกแจงแบบทวินามมาคำนวณที่สัดส่วนของเสีย จะได้กราฟที่มีเส้นโค้ง แสดงคุณลักษณะของ Lot ซึ่งสามารถบอกถึงความสามารถในการสุ่มตัวอย่างโดยพิจารณาจากสัดส่วนของเสีย
OC-Curve ในอุดมคติ ผลกระทบของ OC-Curve จากจำนวนตัวอย่าง ผลกระทบของ OC-Curve จากค่า C
ชนิดของ OC-Curve TYPE A - มีขนาด lot จำกัด (N) - เป็นการแจกแจงแบบ Hypergeometric TYPE B - มีขนาด lot ไม่จำกัด - เป็นการแจกแจงแบบ Binomial
การออกแบบแผนการชักตัวอย่างการออกแบบแผนการชักตัวอย่าง ต้องคำนึงถึงตัวแปรต่างๆ 4 ค่าคือ = ความเสี่ยงของผู้ผลิต b= ความเสี่ยงของผู้บริโภค AQL = ระดับคุภาพที่ยอมรับได้ LTPD = % ของเสียมากสุดที่ยอมรับได้ในรุ่น
100% a = 0.10 90% 75% Probability of Accepting Lot 50% 25% LTPD AQL b= 0.10 Good Indifferent Bad .03 .06 .09 Lot Quality (Fraction Defective) OC Definitions on the Curve จุด a ต้องหาจุดค่า n และ c ที่ทำให้เส้นโค้งลากผ่าน จุดa และ จุด b จุด b
การออกแบบแผนการสุ่มเชิงเดี่ยวโดบใช้ OC-Curve ในการคำนวณจะใช้การแจกแจงแบบ ปัวซอง มาประมาณค่าการแจกแจงแบบทวินาม เพื่อง่ายต่อการคำนวณ
การออกแบบการสุ่มโดยการใช้ Binomial nomograph ค่าที่ได้จากการใช้ nomograph จะเป็นค่าประมาณ ไม่แม่นยำเท่ากับการคำนวณ ตัวอย่างการใช้เช่น กำหนด a = 0.05 b = 0.1 AQL = 0.02 LTPD = 0.08 จงออกแบบแผนการสุ่มเชิงเดี่ยวโดยใช้ nomograph
สินค้ามาส่ง รุ่นที่ปฎิเสธ รุ่นที่ยอมรับ การตรวจพินิจปรับแก้ • ใช้ในการประเมินการแก้ไขคุณภาพสินค้า • เป็นการพินิจปรับแก้กรณีที่รุ่นนั้นๆ ถูกปฎิเสธภายหลังจากการสุ่มตรวจ • การปรับแก้ทำโดยการตรวจสอบ 100% ในรุ่นที่ถูกปฏิเสธ ทำการตรวจสอบ 100% คัดของเสียออก
อักษรย่อ และ นิยาม • AOQ = Average Outgoing Quality • เป็นสัดส่วนของเสียโดยเฉลี่ยภายหลังการตรวจพินิจ • AOQ > p ไม่ดี • AOQL = Average Outgoing Quality Limit • = Max p(AOQ) • ATI = Average Total Inspection • เป็นจำนวนที่ต้องทำการตรวจสอบโดยเฉลี่ย • ต้องกำหนดแผนการสุ่มที่ทำให้ ATI มีค่าต่ำที่สุด
มีการแทนทีด้วยของดี ไม่มีการแทนทีด้วยของดี N มีขนาดใหญ่มากเมื่อเทียบกับ n สูตรการคำนวณ AOQ
มีการแทนทีด้วยของดี ไม่มีการแทนทีด้วยของดี