1 / 18

Safe Anesthesia in One Day Surgery

Safe Anesthesia in One Day Surgery. พ.ญ. ณัฏฐิรา ปินทุกาศ กลุ่มงานวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาลลำพูน 17 มกราคม 2562. ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จตามแผนการรักษาแบบ ODS. การคัดเลือกหัตถการหรือการผ่าตัดที่เหมาะสม. การคัดเลือกผู้ป่วย. วิธีการทางวิสัญญี. วิธีการทางวิสัญญี.

stafford
Download Presentation

Safe Anesthesia in One Day Surgery

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Safe Anesthesia in One Day Surgery พ.ญ. ณัฏฐิรา ปินทุกาศ กลุ่มงานวิสัญญีวิทยา โรงพยาบาลลำพูน 17 มกราคม 2562

  2. ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จตามแผนการรักษาแบบ ODS

  3. การคัดเลือกหัตถการหรือการผ่าตัดที่เหมาะสมการคัดเลือกหัตถการหรือการผ่าตัดที่เหมาะสม

  4. การคัดเลือกผู้ป่วย

  5. วิธีการทางวิสัญญี

  6. วิธีการทางวิสัญญี

  7. ขั้นตอนการส่งผู้ป่วยเพื่อประเมินและเตรียมความพร้อมก่อนผ่าตัดขั้นตอนการส่งผู้ป่วยเพื่อประเมินและเตรียมความพร้อมก่อนผ่าตัด ผู้ป่วยมีแผนที่จะเข้ารับการผ่าตัด นัดวันผ่าตัด แพทย์ผ่าตัดซักประวัติ ตรวจร่างกาย และส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้น ไม่ ส่งตรวจเพิ่มเติมหรือส่งปรึกษาอายุรแพทย์ ปรึกษาทีม ใช่ วิสัญญีแพทย์ประเมินความพร้อมของผู้ป่วย รับไว้รักษาแบบผู้ป่วยใน

  8. ก่อนผ่าตัด 1 วัน วิสัญญีพยาบาล/ พยาบาลศูนย์ส่องกล้องโทรเยี่ยมไข้ สอบถามอาการทั่วไป ตอบข้อซักถามของผู้ป่วย และเตือนผู้ป่วยถึงนัดหมายในการรักษากับแพทย์

  9. หลังจากผ่าตัดเสร็จ • ผู้ป่วยที่ใช้บริการวิสัญญีจะได้รับการดูแลต่อในห้องพักฟื้นจนกว่าจะครบเกณฑ์การจำหน่ายผู้ป่วย • รับไว้สังเกตอาการต่อเมื่อมีเหตุจำเป็น เช่น มีภาวะแทรกซ้อนขณะ/หลังผ่าตัด โดยจะย้ายผู้ป่วยไปสังเกตอาการต่อที่หอผู้ป่วยที่จัดเตรียมไว้ • 1 วันหลังผ่าตัด วิสัญญีพยาบาล/พยาบาลศูนย์ส่องกล้องโทรเยี่ยมอาการ • 7 วันหลังผ่าตัด พยาบาล COC ติดตามเยี่ยมอาการที่บ้าน • 2 สัปดาห์หลังผ่าตัด ผู้ป่วยมาตรวจตามนัดที่โรงพยาบาลลำพูน

  10. ปัญหาที่มักพบในการเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดปัญหาที่มักพบในการเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด

  11. ตัวอย่างยาบางกลุ่มที่ผู้ป่วยอาจจำเป็นต้องหยุดก่อนผ่าตัดตัวอย่างยาบางกลุ่มที่ผู้ป่วยอาจจำเป็นต้องหยุดก่อนผ่าตัด

  12. ตัวอย่างบันทึกข้อความการรับประทาน/งดยารักษาโรคประจำตัวตัวอย่างบันทึกข้อความการรับประทาน/งดยารักษาโรคประจำตัว • ผู้ป่วยไม่ได้นำยามา • ถ้ารับยาที่ รพ. ลำพูน จะสืบค้นผ่านระบบ IT • ถ้ารับยาจากที่อื่นที่มิใช่ รพ. ลำพูน เภสัชกรเป็นผู้ประสานการสืบค้นยาที่ผู้ป่วยใช้เป็นประจำจากแหล่งที่รักษา • เมื่อได้ข้อมูลยา เภสัชกรจะแจ้งให้แพทย์ทราบ • แพทย์พิจารณาสั่งงด/ให้ทานต่อ ขึ้นกับชนิดของยา • แพทย์เขียนบันทึกข้อความเพื่อให้ผู้ป่วยนำยาที่ใช้รับประทานเป็นประจำไปขอคำแนะนำการใช้ยาก่อนผ่าตัดจาก รพช. หรือ รพ.สต. ที่เกี่ยวข้อง • พยาบาลผู้ให้คำแนะนำเซ็นชื่อกำกับ พร้อมให้ผู้ป่วยนำใบบันทึกข้อความนี้กลับมายื่นกับเจ้าหน้าที่ในวันนัดผ่าตัด

  13. ตัวอย่างการลงข้อมูลในระบบ Thai COC ติดตามหลังผ่าตัดครบ 7 วัน หรือก่อนนั้นตามดุลพินิจของแพทย์

  14. การเตรียมและการให้บริการการรักษาพยาบาลผู้ป่วยในโครงการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับการเตรียมและการให้บริการการรักษาพยาบาลผู้ป่วยในโครงการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ ไม่ต่าง จากผู้ป่วยในในโรคเดียวกัน

More Related