1 / 74

20 สิงหาคม 2554 พิฐชญาณ์ สุข สาครธนาวัฒน์ Harm reduction Clinic

20 สิงหาคม 2554 พิฐชญาณ์ สุข สาครธนาวัฒน์ Harm reduction Clinic. ยินดีต้อนรับอาจารย์ นิสิตแพทย์และเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ " โครงการเพิ่มพูนการเรียน การสอน นิสิตแพทย์ กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ ".

strom
Download Presentation

20 สิงหาคม 2554 พิฐชญาณ์ สุข สาครธนาวัฒน์ Harm reduction Clinic

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 20 สิงหาคม 2554 พิฐชญาณ์สุขสาครธนาวัฒน์ Harm reduction Clinic ยินดีต้อนรับอาจารย์ นิสิตแพทย์และเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาลกาฬสินธุ์"โครงการเพิ่มพูนการเรียน การสอน นิสิตแพทย์ กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลกาฬสินธุ์"

  2. โรงพยาบาลธัญญารักษ์ขอนแก่นกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ที่ตั้ง เลขที่775 หมู่ 19 ถ.มะลิวัลย์ ต.ศิลา อ.เมือง จ.ขอนแก่น

  3. วิสัยทัศน์ ผู้นำเทคโนโลยีการบำบัดรักษายาและสารเสพติดLeader in substance abuse treatment technology

  4. พันธะกิจ วิจัย พัฒนา และถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีการบำบัดรักษายาและสารเสพติด เพื่อให้ผู้ติดยาและสารเสพติดสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างปกติสุข

  5. ขอบเขตบริการ 1. บำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาและสารเสพติด ทั้งในระบบสมัครใจ ระบบบังคับบำบัดและระบบต้องโทษ ภายใต้กรอบของกฎหมาย 2. วิจัยและพัฒนาการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาและสารเสพติด 3. ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการบำบัดรักษาและฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ติดยาและสารเสพติดให้แก่บุคลากรทางการแพทย์และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

  6. ตึกผู้ป่วยฟื้นฟูสมรรถภาพชาย 40 เตียง โรงพยาบาลขนาด 140 เตียง ตึกผู้ป่วยบำบัดยา 40 เตียง ตึกผู้ป่วยพิเศษ 20 เตียง ตึกผู้ป่วยฟื้นฟูสมรรถภาพหญิง 40 เตียง

  7. ขั้นตอนกระบวนการบำบัดผู้ติดยาและสารเสพติดขั้นตอนกระบวนการบำบัดผู้ติดยาและสารเสพติด ประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้     ผู้รับบริการ เตรียมการ จูงใจ บำบัดด้วยยา ฟื้นฟูสมรรถภาพ ติดตามการรักษา กลับสู่สังคม

  8. แผนผังแสดงการให้บริการผู้ใช้ยาและสารเสพติดแผนผังแสดงการให้บริการผู้ใช้ยาและสารเสพติด ผู้ใช้ยา/สารเสพติด มารับบริการ ไม่มีอาการขาดยา เมายา มีอาการขาดยา เมายา ประเมินเพื่อ วางแผนการรักษา ถอนพิษยา มีโรคแทรกซ้อนทางอายุรกรรม มีโรคทาง จิตประสาทร่วม ลังเล ไม่ต้องการบำบัด ตัดสินใจบำบัด ยังคงเสพ โปรแกรมจูงใจบำบัด โปรแกรมบำบัดฟื้นฟู ให้ยารักษาโรคทางอายุรกรรม ให้ยารักษาโรคทางจิตประสาท หยุดเสพ (Remission) 1.Counseling 2.MET 3.Art therapy 4.Harm clinic 5.Anonymous clinic 1.แบบผู้ป่วยนอก 2.แบบผู้ป่วยใน 3.FAST 4.Harm clinic 5.Anonymous clinic โปรแกรมติดตามการรักษา ส่งต่อ โรงพยาบาล ที่เกี่ยวข้อง ส่งต่อ โรงพยาบาล จิตเวช ไม่เสพซ้ำ เสพซ้ำ Family therapy Spiritual therapy จำหน่าย (Discharge) Social intervention

  9. อ้างอิง:นพ. อิสระ เจียวิริยบุญญา การเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติ งานด้านการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติด ยาและสารเสพติด

  10. องค์ความรู้พื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติงานบำบัดรักษาผู้ใช้ยาเสพติดองค์ความรู้พื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติงานบำบัดรักษาผู้ใช้ยาเสพติด ความหมายของศัพท์ที่ใช้กันบ่อยๆ ธรรมชาติการติดยาเสพติด(โรคสมองติดยา) การเสพยาเสพติดในมุมมองทางการแพทย์และทางกฎหมาย เกณฑ์การวินิจฉัยการติดยา กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด แนวทาง / หลักการดูแลผู้ติดยาเสพติด การวัดผลสำเร็จการบำบัดรักษา นวัตกรรมการบำบัด การบำบัดทางเลือก

  11. ความหมายของศัพท์ที่ใช้กันบ่อยๆความหมายของศัพท์ที่ใช้กันบ่อยๆ การบำบัดผู้เสพและผู้ติดสารเสพติด การบำบัด หมายถึง การบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ สารเสพติด หมายถึง ยาเสพติดและสารเสพติด การบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้มีปัญหาการใช้ยาและสารเสพติด

  12. Khonkaen Drug Dependence Treatment Center Drug หมายถึง Drugs and Substances Dependence หมายถึง Abuse and Dependence Treatment หมายถึง Treatment and Rehabilitation KhonkaenSubstances Abuse Treatment and Rehabilitation Center

  13. ธรรมชาติของการติดยาและสารเสพติดธรรมชาติของการติดยาและสารเสพติด Experimental use Occasional use Regular use Chronic use ลองเสพ หาโอกาสเสพ เสพประจำ เสพตลอดเวลา Abuse Addiction เสพสนุก เสพเอามัน เสพเอาเป็นเอาตาย Progressive brain damage  Loss of cognitive function สมองเสื่อมความคิด ปัญญา ความจำ

  14. 100 5 30 ลองเสพ ประชากรทั่วไป เสพประจำ เสพตลอดเวลา หาโอกาสเสพ กลุ่มเสพ กลุ่มติด อาการจิตประสาท ปกติ

  15. Experimental users Situational users Regular users Chronic users ลองเสพ หาโอกาสเสพ เสพประจำ เสพตลอดเวลา 50 20 5-10 100 เลิก / หยุด เลิก / หยุด เลิก / หยุด เลิก / หยุด

  16. Experimental users Situational users Regular users Chronic users ลองเสพ หาโอกาสเสพ เสพประจำ เสพตลอดเวลา 50 20 5-10 100 เลิก / หยุด เลิก / หยุด เลิก / หยุด เลิก / หยุด

  17. การเสพยาเสพติดในมุมมองทางการแพทย์และทางกฎหมายการเสพยาเสพติดในมุมมองทางการแพทย์และทางกฎหมาย มุมมองทางสังคม มุมมองทางกฎหมาย มุมมองทางการแพทย์

  18. มุมมองทางกฎหมาย ผิดกฎหมาย เบี่ยงคดี ชะลอฟ้อง ความผิดอาญา ผู้เสพเป็นผู้ป่วย

  19. มุมมองทางสังคม มลทิน , ตราบาป Stigma Access to cares การเข้าถึงการรักษา โรคเรื้อน โรคเอดส์ โรคสมองติดยา

  20. มุมมองทางการแพทย์ ผู้เสพทุกรายเป็นผู้ป่วย ?? รักษาอะไร ?? ( โรค / พฤติกรรรม ) รักษาอย่างไร ?? ผลการรักษาเป็นอย่างไร ?? ( หาย / เรื้อรัง )

  21. เกณฑ์การวินิจฉัยการติดยาเกณฑ์การวินิจฉัยการติดยา - มีอาการขาดยาเมื่อไม่ได้เสพ - ต้องเพิ่มปริมาณการเสพมากขึ้น - ควบคุมปริมาณและระยะเวลาที่เสพไม่ได้ - หมกมุ่นกับการเสพและการหาสารมาเสพ - พยายามเลิกเสพหลายครั้งแต่ไม่สำเร็จ - เสพจนมีผลกระทบต่อสังคมและการงาน - คงเสพแม้เกิดผลเสียต่อร่างกายและจิตใจ

  22. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดและการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒ ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ ๑๓๕ (พ.ศ.๒๕๓๙) พ.ร.บ.ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.๒๕๔๕ พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ.๒๕๕๑ พ.ร.บ.สารระเหย

  23. ประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับที่ ๑๓๕ (พ.ศ.๒๕๓๙) ประเภทที่ ๑ : ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง เฮโรอีน แอมเฟตามีน เมทแอมเฟตามีน เอ๊กซ์ตาซี แอลเอสดี ประเภทที่ ๒ : ยาเสพติดให้โทษทั่วไป ใบโคคา โคคาอีน โคเดอีน ยาสกัดเข้มข้นของต้นฝิ่นแห้ง เมทาโดน มอร์ฟีน ฝิ่น(ฝิ่นที่ผ่านกรรมวิธีปรุงแต่งเพื่อใช้ในทางยา) ฝิ่น(ฝิ่นดิบ ฝิ่นสุก มูลฝิ่น) ประเภทที่ ๓ :ยาเสพติดให้โทษที่มีลักษณะเป็นต้นตำรับยาและมีสารเสพติดให้โทษประเภท ๒ ผสมอยู่ ประเภทที่ ๔ : สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท ๑ หรือ ๒ ประเภทที่ ๕ : ยาเสพติดให้โทษที่ไม่เข้าอยู่ในประเภท ๑ ถึง ๔  กัญชา พืชกระท่อม

  24. พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.๒๕๒๒ ผู้เสพยาเสพติดให้โทษประเภท ๑ , ๒  จำคุก ๖ เดือน ถึง ๑๐ ปี และปรับ ๕,๐๐๐ ถึง ๑๐๐,๐๐๐ บาท ( ม.๑๗ ) มีโทษจำคุก  คดีอาญา

  25. พ.ร.บ.ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.๒๕๔๕ หลักการ - ผู้เสพ (Drug users) คือผู้ป่วยมิใช่อาชญากร - ผู้ติดยาเสพติด (Drug addict) เป็นผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษาหรือฟื้นฟูสมรรถภาพ

  26. พ.ร.บ.ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ.๒๕๔๕ ฐานความผิดตามพระราชบัญญัติ - ผู้เสพยาเสพติด - ผู้เสพและมีไว้ครอบครอง - ผู้เสพและมีไว้ครอบครองเพื่อจำหน่าย - เสพและจำหน่ายยาเสพติดตามลักษณะ ชนิด ประเภท และปริมาณที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวง

  27. ผู้กระทำความผิดฐานเสพยาเสพติดผู้กระทำความผิดฐานเสพยาเสพติด จับกุม (มาตรา 19 ) ศาล สถานที่ควบคุมเพื่อตรวจพิสูจน์ ตรวจพิสูจน์ (มาตรา 21 ) คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด

  28. คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดคณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด วินิจฉัย (มาตรา 22 ) ผู้เสพ ผู้ติด ไม่ใช่ผู้เสพ-ผู้ติด กำหนดวิธีการฟื้นฟู (มาตรา 23 ) พนักงานสอบสวน , พนักงานอัยการ ไม่ควบคุมตัว ควบคุมตัวไม่เข้มงวด ควบคุมตัวเข้มงวด

  29. ควบคุมตัวเข้มงวด - ศูนย์ฟื้นฟู ฯ - สถานพินิจ ฯ - สถานที่อื่น ไม่เข้มงวด - สถาบันยาเสพติด - ศูนย์บำบัดรักษาฯ - สถานที่อื่น ไม่ควบคุมตัว - ภายใต้การคุม ประพฤติ - สถานพยาบาล ผลการฟื้นฟู น่าพอใจ ไม่น่าพอใจ ปล่อยตัว ส่งพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ

  30. ข้อเสนอ : ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ใช้ยาเสพติด ผู้ใช้ยาเสพติด ตำรวจจับกุม ชุมชนค้นหา แบบคัดกรอง เริ่มเสพ เสพประจำ เริ่มติด ติดหนัก ค่ายบำบัด บำบัดด้วยยาในโรงพยาบาล 1-2 สัปดาห์ ระบบบังคับบำบัด พ.ร.บ.ฟื้นฟูฯ 2545 ปกติ โรคจิตร่วม ร.พ.จิตเวช พ.ร.บ.สุขภาพจิต 2551 โปรแกรมฟื้นฟูสมรรถภาพ 1 ครั้ง/สัปดาห์ 10-12 สัปดาห์ เสพซ้ำ ติดตามการรักษา / ควบคุมความประพฤติ  ชุมชน / อาสาสมัครคุมประพฤติ ระบบบังคับบำบัด พ.ร.บ.ฟื้นฟูฯ 2545

  31. การบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ การบำบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข ผู้รับบริการ เตรียมการ จูงใจ บำบัดด้วยยา ฟื้นฟูสมรรถภาพ ติดตามการรักษา กลับสู่สังคม การฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ตาม พ.ร.บ.ฟื้นฟูฯ ๒๕๔๕ ผู้รับบริการ ตรวจพิสูจน์ ฟื้นฟูสมรรถภาพ กลับสู่สังคม

  32. หลักการดูแลผู้ติดยาและสารเสพติดหลักการดูแลผู้ติดยาและสารเสพติด Addiction is a chronic, relapsing and treatable brain disease 1 โรคเรื้อรัง , เป็นๆหายๆ(เสพซ้ำ) , รักษาได้

  33. Chronic, Relapsing and Treatable brain disease โรคเรื้อรัง , เป็นๆหายๆ(เสพซ้ำ) , รักษาได้ 20% หยุดได้ / เลิกได้ 80% เสพซ้ำ / เสพประจำ บำบัดรักษา 3-10 years 40% หยุดได้ / เลิกได้ 35% เสียชีวิต : โรคแทรกซ้อน, อุบัติเหตุ, ถูกฆ่าตาย, อื่นๆ 5% เป็นบ้า , อยู่ตามถนน , คนจรจัด

  34. หลักการดูแลผู้ติดยาและสารเสพติดหลักการดูแลผู้ติดยาและสารเสพติด 2 Addiction change the brain : structure and function การติดยาเสพติดทำให้สมองเปลี่ยนแปลงทั้งโครงสร้างและหน้าที่ เครื่องมือ วัดcognitive function

  35. หลักการดูแลผู้ติดยาและสารเสพติดหลักการดูแลผู้ติดยาและสารเสพติด 3 No single method is appropriate or effective for treating all individuals ไม่มีวิธีการบำบัดรักษารักษาใดที่สามารถให้การรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพสำหรับผู้ติดยาทุกๆคน ประเมินและวางแผนการรักษาเป็นรายบุคคล ทีมบำบัดที่ประกอบด้วยสหวิชาชีพ ช่วยในการบำบัด

  36. หลักการดูแลผู้ติดยาและสารเสพติดหลักการดูแลผู้ติดยาและสารเสพติด 4 The sooner an addict get into treatment, the better รับการบำบัดเร็วเท่าไหร่ ผลของการบำบัดจะดี

  37. หลักการดูแลผู้ติดยาและสารเสพติดหลักการดูแลผู้ติดยาและสารเสพติด 5 The longer an addict stays in treatment, the greater the chance treatment will be effective ประสิทธิภาพการบำบัดจะสูงขึ้น ตามระยะเวลาที่เข้ารับการบำบัด

  38. หลักการดูแลผู้ติดยาและสารเสพติดหลักการดูแลผู้ติดยาและสารเสพติด 6 Relapse is part of the disease, not a sign of failure การกลับไปเสพซ้ำเป็นส่วนหนึ่งของโรคสมองติดยา ไม่ใช่ ความล้มเหลวของการบำบัดรักษา

  39. ขั้นตอนการบำบัดรักษาผู้ติดยาและสารเสพติดขั้นตอนการบำบัดรักษาผู้ติดยาและสารเสพติด ติดตามการรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ บำบัดด้วยยา เตรียมการ / จูงใจ

  40. นำแนวคิด Stage of Change มาใช้ในการให้โปรแกรมบำบัด

  41. วงจรการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมวงจรการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เมินเฉย เสพซ้ำ ลังเลใจ เลิกเสพ หยุดเสพ ตัดสินใจ ลงมือปฏิบัติ

  42. เมินเฉย โปรแกรม / กิจกรรม บำบัด โปรแกรม / กิจกรรม บำบัด เสพซ้ำ ลังเลใจ เลิกเสพ หยุดเสพ ตัดสินใจ โปรแกรม / กิจกรรม บำบัด โปรแกรม / กิจกรรม บำบัด ลงมือปฏิบัติ

  43. เตรียมการ / จูงใจ บำบัดด้วยยา ฟื้นฟูสมรรถภาพ ติดตามการรักษา เมินเฉย โปรแกรม / กิจกรรม บำบัด โปรแกรม / กิจกรรม บำบัด เสพซ้ำ ลังเลใจ เลิกเสพ หยุดเสพ ตัดสินใจ โปรแกรม / กิจกรรม บำบัด โปรแกรม / กิจกรรม บำบัด ลงมือปฏิบัติ มิติทางการแพทย์ มิติทางสังคม จิตวิทยา มิติทางจิตวิญญาณ

  44. ผู้ใช้ยา/สารเสพติด มารับบริการ ผังกำกับการให้บริการ ไม่มีอาการขาดยา เมายา มีอาการขาดยา เมายา ประเมินเพื่อ วางแผนการรักษา บำบัดด้วยยา มีโรคทาง อายุรกรรมร่วม มีโรคทาง จิตประสาทร่วม ลังเล ไม่ต้องการบำบัด ตัดสินใจบำบัด ยังคงเสพ โปรแกรมจูงใจบำบัด โปรแกรมบำบัดฟื้นฟู ให้ยารักษาโรคทางจิตประสาท หยุดเสพ ให้ยารักษาโรคทางอายุรกรรม 1.Counseling 2.MI 1.MET / CBT / TSF 2.CM โปรแกรมติดตามการรักษา โปรแกรมทางเลือก และโปรแกรมเสริมการรักษา Harm red. clinic Family therapy ส่งต่อ โรงพยาบาล ที่เกี่ยวข้อง ส่งต่อ โรงพยาบาล จิตเวช ไม่เสพซ้ำ เสพซ้ำ Anonymous clinic Spiritual therapy จำหน่าย (Discharge) Social intervention Art therapy

  45. รักษาอะไร ?? รักษาอาการแทรกซ้อน ( เฉียบพลัน และ เรื้อรัง ) รักษาพฤติกรรมการใช้ยา ( กลุ่มเสพ และ กลุ่มติด )

  46. รักษาอย่างไร ?? การสร้างแรงจูงใจ MET (Motivation Enhancement Therapy) การบำบัดความคิดพฤติกรรม CBT (Cognitive Behavioral Therapy) สิบสองขั้นตอนเพื่อการเลิกยา TSF (Twelve Step Facilitator)

More Related