640 likes | 986 Views
การพัฒนาคุณภาพสาเหตุการตาย ของประเทศไทย 2553-2554. พ.ญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ 081 8273634 อรพิน ทรัพย์ล้น และ ชูจิตร นาชีวะ 086 8814151 สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ก.สาธารณสุข. ฝึกทำแบบฝึกหัด ทดสอบก่อนฟังบรรยาย. ประชากรจังหวัดของท่านตายปีละกี่คน ..........................
E N D
การพัฒนาคุณภาพสาเหตุการตายของประเทศไทย2553-2554การพัฒนาคุณภาพสาเหตุการตายของประเทศไทย2553-2554 พ.ญ.จันทร์เพ็ญ ชูประภาวรรณ 081 8273634 อรพิน ทรัพย์ล้น และ ชูจิตร นาชีวะ 086 8814151 สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ก.สาธารณสุข
ฝึกทำแบบฝึกหัด ทดสอบก่อนฟังบรรยาย
ประชากรจังหวัดของท่านตายปีละกี่คน .......................... หมู่บ้านเรามีคนตายเดือนละกี่คน ............................. อายุขัยเฉลี่ยของประชากร ชาย ................ หญิง ................ ประชากรของเราตายกันด้วยสาเหตุอะไรบ้าง ????? คำถามสำคัญวันนี้ ทำไมเราต้องการข้อมูลเหล่านี้
พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร ฯ หน้าที่ของพลเมืองไทยคือ ............................................................. หน้าที่นายทะเบียนท้องถิ่นคือ ....................................................... งานของสาธารณสุขในระบบนี้คือ ................................................ พระราชบัญญัติ ชันสูตรพลิกศพ ใช้ในกรณีใด ................................................................................ งานของสาธารณสุขคือ ................................................................. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ประชากร
สัดส่วนการตายด้วย “ไม่ทราบสาเหตุ” THAILAND HAITI HONDURAS DOMINICAN REPUBLIC EL SAVADOR SURINAME SRI LANKA BRAZIL EGYPT NICARAGUA VENEZUELA SOUTH AFRICA ECUADOR YUGOSLAVIA PANAMA ALBANIA SEYCHELLES GUATEMALA PERU BAHRAIN REPUBLIC OF KOREA PORTUGAL MAURITIUS JAMAICA TFYR Macedonia COLOMBIA PHILIPPINES FRANCE 0 0.2 0.3 0.4 0.5 0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 Evidence and Information for Policy WHO 1999
ความผิดพลาดของสถิติการตายความผิดพลาดของสถิติการตาย • โรคหัวใจเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งของคนไทย? • แหล่งข้อมูล สถิติสาธารณสุข พ.ศ.2523 - 2541 • ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีคุณภาพข้อมูลการตายต่ำ มากที่สุดในโลก (วัดจากสัดส่วนการตายด้วยไม่ทราบสาเหตุเกินครึ่ง) พอ ๆ กับ ประเทศไฮติ
การตาย “ไม่ทราบสาเหตุ” ตามอายุ year 2000 ข้อมูลสถิติชีพปีพ.ศ.2543, ฐานข้อมูลประชากรกระทรวงสาธารณสุข
การตายไม่ทราบสาเหตุ เปรียบเทียบตายใน-นอกสถานพยาบาลปี 2004-2006 Analyzed from Vital registration databases 2004-2006, MoPH
ผลกระทบของความผิดพลาดในข้อมูลการตายผลกระทบของความผิดพลาดในข้อมูลการตาย • ไม่ทราบปัญหาสุขภาพอนามัยที่แท้จริง อะไรสำคัญ • วางแผนและจัดสรรทรัพยากรได้ยาก • ตัดสินใจผิดพลาด ลงทุนไปในสิ่งที่ไม่ใช่เรื่องสำคัญ เช่น ซื้อเครื่องตรวจ รักษาโรคหัวใจ ฯ
ประโยชน์ของข้อมูลการตายประโยชน์ของข้อมูลการตาย • วิเคราะห์และคาดประมาณประชากร - ทำตารางชีพ และ อายุคาดเฉลี่ย DALYs (Disability Adjusted Life Years) • แสดงปัญหาสุขภาพในระดับประเทศและพื้นที่ • กำหนดนโยบายและวางแผนงาน จัดสรรทรัพยากรอย่างถูกต้องตรงกับปัญหาที่แท้จริง
สถานภาพการตาย ประชาชนไทย คนไทยตายปีละประมาณ 400,000 คน • ป่วยตายในโรงพยาบาล 25-30 % ตายผิดธรรมชาติ (ชันสูตรพลิกศพ) 25-30 % หนังสือรับรองการตาย โดย แพทย์ผู้รักษาก่อนตาย • ตายนอกโรงพยาบาล 50-40 % ใบรับแจ้งการตาย โดย ผู้ใหญ่บ้าน,กำนัน, ทะเบียน
คุณภาพข้อมูลสาเหตุการตายในหนังสือรับรองการตายคุณภาพข้อมูลสาเหตุการตายในหนังสือรับรองการตาย สุ่มเก็บข้อมูลรพ.จังหวัด 3 แห่ง ปี พ.ศ. 2554 พบความผิดพลาดในหนังสือรับรองการตาย 75 %
สาเหตุของความผิดพลาดในการเขียน หนังสือรับรองการตายของแพทย์ ขาดความรู้และความเข้าใจเรื่อง 1. ความหมายของสาเหตุการตาย 2. วิธีการเขียนหนังสือรับรองการตาย 3. ความสำคัญของข้อมูล,สถิติการตาย
โครงการศึกษาสาเหตุการตาย ปี 2542 1. ศึกษาสาเหตุการตายจากแหล่งปฐมภูมิทั้งการตาย ที่บ้านและในโรงพยาบาล 2. เปรียบเทียบสาเหตุการตายจากแหล่งปฐมภูมิและทุติยภูมิ - ความครบถ้วน - ความสมบูรณ์ของข้อมูล - ความถูกต้องในการลงสาเหตุการตาย
ผลการศึกษาสาเหตุการตายผลการศึกษาสาเหตุการตาย เปรียบเทียบรายงานสาเหตุการตายจากการศึกษากับมรณบัตร วิเคราะห์รหัสโรคจาก ICD-10 จำนวน 3 หลัก พบว่ามีระดับความสอดคล้องกันเพียงร้อยละ 29.3
เปรียบเทียบข้อมูลสาเหตุการตายระหว่างมรณบัตรกับการสอบสวนสาเหตุการตายเปรียบเทียบข้อมูลสาเหตุการตายระหว่างมรณบัตรกับการสอบสวนสาเหตุการตาย A : อาการ, อาการแสดง B : ระบบไหลเวียนเลือด C : สาเหตุภายนอก D : มะเร็ง E : โรคติดเชื้อ F : ระบบหายใจ G : สาเหตุไม่ชัดแจ้ง H : ตับและถุงน้ำดี I : ไตและ ระบบปัสสาวะ J : ระบบประสาท K : เบาหวาน L : ระบบเลือด M : ระบบย่อยอาหาร N : กล้ามเนื้อ O : พิการแต่กำเนิด มีความสอดคล้องในภาพรวม29.3%
สาเหตุการตายในเพศชาย รวมทุกอายุ การสอบสวนสาเหตุการตาย มรณบัตร อื่นๆ 39.0% อื่นๆ 23.7% ชราภาพ 7.7% โรคติดเชื้อ19% ชราภาพ13.5% โรคติดเชื้อ6.8% มะเร็ง15.7% สาเหตุภายนอก13.3% มะเร็ง 9.6% ระบบไหลเวียนเลือด16.2% สาเหตุภายนอก17.5% ระบบไหลเวียนเลือด17.8%
สาเหตุการตายในเพศหญิง รวมทุกอายุ การสอบสวนสาเหตุการตาย มรณบัตร สาเหตุภายนอก9.1% อื่นๆ 24.9% สาเหตุภายนอก4.8% อื่นๆ 37.5% มะเร็ง15.5% มะเร็ง9.3% โรคติดเชื้อ12.8% โรคติดเชื้อ 4.7% ระบบไหลเวียนเลือด18.2% ชราภาพ 19.5% ชราภาพ 27.8% ระบบไหลเวียนเลือด16.0%
เปรียบเทียบสาเหตุการตายระหว่างเพศ และ ความสูญเสียอันเนื่องจาก การตายก่อนวัยอันควร (YLLs)
เพศชาย สูญเสียวัยอันสมควร (YLL)รวม 4.2 ล้านปี
เพศหญิง สูญเสียวัยอันสมควร (YLL)รวม 2.6ล้านปี
นโยบายการพัฒนาระบบข้อมูลการตายกระทรวงมหาดไทย และ กระทรวงสาธารณสุข • เพิ่มพูนความรู้และทักษะให้แก่แพทย์ทุกคน โดย จัดทำคู่มือการบันทึกสาเหตุการตาย และ ฝึกอบรม • บรรจุลงในหลักสูตรแพทยศาสตร์ศึกษา • จัดระบบรายงานการตายใหม่ โดย ให้แพทย์เป็นผู้วินิจฉัยสาเหตุการตายทุกราย
คำจำกัดความ - สาเหตุการตาย UNDERLYING CAUSES OF DEATHS • โรคแรกที่เกิดขึ้น อันทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนอื่นๆตามต่อเนื่องกันมา จนนำไปสู่การเสียชีวิต • ในกรณี การบาดเจ็บ สาเหตุการตาย คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอันทำให้เกิดการบาดเจ็บ เช่น อุบัติเหตุตกจากที่สูง, ฆาตกรรมโดยอาวุธปืน, หรือขับมอเตอร์ไซด์ชนรถยนต์
รูปแบบการตาย(MODE OF DEATH) • คำที่แสดงว่า อวัยวะสำคัญหยุดทำงาน • เกิดขึ้นก่อนเสียชีวิตไม่นาน • หัวใจล้มเหลว, หายใจล้มเหลว • ระบบไหลเวียนโลหิตล้มเหลว • สมองหยุดทำงาน • หัวใจหยุดเต้น ห้ามเขียน
คนไทยตายปีละ 400,000 ตายใน + นอก รพ. ผิดธรรมชาติ (Suicide, Homicide, Accident) เหตุธรรมชาติ ไม่ทราบสาเหตุ • เจ็บป่วย - ประวัติการป่วย การรักษา รพ. วินิจฉัยโดยแพทย์ - สอบสวนโดย เจ้าหน้าที่สาธารณสุข/ วินิจฉัยโดยแพทย์ ต้องปฏิบัติตาม พรบ. ออกชันสูตรพลิกศพ ลงสาเหตุการตายอย่าง ถูกต้อง (ระบบ ICD-10) เอกสารรับรองการตาย มรณบัตร
ระบบไหลเวียนข้อมูลการตายนอกสถานบริการระดับจังหวัดระบบไหลเวียนข้อมูลการตายนอกสถานบริการระดับจังหวัด ผู้ตายนอกสถานบริการ ตายตามธรรมชาติ ตายผิดธรรมชาติ ญาติแจ้งผู้ใหญ่/ กำนัน/อสม. เขตเทศบาล นอกเขตเทศบาล แบบสอบสวน การตาย ญาติแจ้งผู้ใหญ่/ กำนัน/อสม./ทีม ญาติแจ้งเจ้าหน้าที่/ สถานบริการ สาธารณสุข ตำรวจ/แพทย์/ชันสูตร สถานบริการ/ เทศบาล สอบสวนสาเหตุการตาย สอบสวนสาเหตุ การตาย ทราบ ไม่ทราบสาเหตุ สสอ./คปสอ. ตรวจสอบ ลงสาเหตุการตายโดย จนท.สาธารณสุข ลงสาเหตุการตายโดย จนท.สธ. ปรับปรุง/ คุณภาพ ออกใบรับรอง นิติเวช ญาตินำใบรับรอง การตายแจ้งอำเภอ ญาตินำใบรับรอง การตายแจ้งเทศบาล ส่ง สสจ. ประมวลผล/ ใช้ประโยชน์ มรณบัตร มรณบัตร สำนักทะเบียน กระทรวง มหาดไทย สำนักทะเบียน กระทรวง มหาดไทย ทีมวิจัย/สนย. ตรวจสอบ
แบบฟอร์ม ทร.4 และ ทร.4/1 ในส่วนของการวินิจฉัยสาเหตุการตาย • 2.3 โรคที่เป็นสาเหตุการตายเขียนเป็นภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ (CAPITAL LETTER) a) ……... …... ……... …... ……... …… (due to) b) ……... …... ……... …... ……... …… (due to) c) ……... …... ……... …... ……... …… (due to) d) ……... …... ……... …... ……... …… 2.4 โรคหรือภาวะอื่นที่เป็นเหตุหนุน 2.5 โรคหรือภาวะที่ให้เจ้าหน้าที่ทะเบียนราณฎร คัดลอกลงในช่อง “สาเหตุการตาย” ในมรณบัตร (ให้เขียนเพียงโรคหรือภาวะเดียวเท่านั้น โดยเขียนเป็นภาษาไทย)…………. 2.6 หากผู้เสียชีวิตเป็นสครี ไม่ตั้งครรภ์ กำลังตั้งครรภ์…สัปดาห์ ขณะเสียชีวิต เพิ่งสิ้นสุดการตั้งครรภ์ไม่เกิน 6 สัปดาห์ ไม่ทราบ
หมายเหตุในเอกสารรับรองการตาย หมายเหตุในเอกสารรับรองการตาย หนังสือรับรองการตาย ท.ร.4/1 สำหรับการตายในสถานพยาบาล ใบรับแจ้งการตาย ท.ร. 4 สำหรับการตายนอกสถานพยาบาล
หลักการเขียนสาเหตุการตายหลักการเขียนสาเหตุการตาย 1.งดการใช้คำแสดงรูปแบบการตาย 2. เขียนโรคต่าง ๆ ย้อนจากเหตุการณ์ล่าสุดกลับไปยังเหตุการณ์ในอดีตจนถึงสาเหตุการตาย 3. บันทึกสาเหตุการตายในบรรทัดล่างสุด
วิธีการเขียนโรคตามลำดับต่าง ๆ • เขียนจากบรรทัดบนก่อน แล้วเขียนไล่ลงบรรทัดล่าง (a) (b) (c) (d) เขียนจากผลย้อนไปสู่เหตุ • เขียนจากบรรทัดล่างสุดก่อน แล้วเขียนขึ้นไปบรรทัดบน (d) (c) (b) (a)
ข้อที่ 2 ใบรับแจ้งการตาย (ทร ๔ ตอนหน้า) ใหม่ สาเหตุการตายเขียนภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ (a)____________________________ (due to) ระยะเวลาที่ป่วย (b)____________________________ (due to) ระยะเวลาที่ป่วย (c)____________________________ (due to) ระยะเวลาที่ป่วย (d)____________________________ 2.5 สาเหตุการตายเขียนเป็นภาษาไทย (จากบรรทัดสุดท้าย)
หัวรถจักร สาเหตุ การตาย รูปแบบ การตาย 1
ตัวอย่างที่ 1 - วิธีเขียนสาเหตุการตาย (a) ASPIRATION PNEUMONIA 7 Ds (b) CRYPTOCOCCAL MENINGITIS 17 Ds (c) PULMONARY TUBERCULOSIS 17 Ds (d) HIV INFECTION 7 Yrs 2.5 สาเหตุการตายคือ ติดเชื้อเอชไอวี หรือ ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ตัวอย่างที่ 2 - วิธีเขียนหนังสือรับรองการตาย (a) BRONCHOPNEUMONIA7 Ds (b) METASTASIS CARCINOMA OF BOTH FRONTAL LOBES 4 Wks (c) CARCINOMA OF RIGHT BREAST 4 Ys 2.5 สาเหตุการตายคือ มะเร็งเต้านมข้างขวา
PEDESTRIAN HIT BY PICK-UP 30 Ds 3
ตัวอย่างที่ 3 - วิธีเขียนหนังสือรับรองการตาย (a) SEPTIC SHOCK2 Ds (b) URINARY TRACT INFECTION 7 Ds (c) INTRACEREBRAL HAEMORRAGE 30 Ds (d) PEDESTRIAN HIT BY PICK-UP 30 Ds 2.5 สาเหตุการตายคือ เดินข้ามถนนถูกปิคอัพชน
ข้อพึงสังเกตในการลงสาเหตุการตายข้อพึงสังเกตในการลงสาเหตุการตาย
ข้อพึงสังเกตในการลงสาเหตุการตายข้อพึงสังเกตในการลงสาเหตุการตาย 1. ถึงแม้เราทราบแน่ชัดว่าโรคติดเชื้อหรือปรสิตบางชนิดเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งบางอย่าง เช่น พยาธิใบไม้ในตับ เป็นสาเหตุของมะเร็งท่อน้ำดีในตับ แต่เวลาตายเราจะลงสาเหตุตายเป็นโรคมะเร็ง ยกเว้น HIV ที่ทำให้เกิด Kaposi’s sarcoma แล้วตายให้สาเหตุการตาย HIV
ข้อพึงสังเกตในการลงสาเหตุการตายข้อพึงสังเกตในการลงสาเหตุการตาย 2. วัณโรคของระบบประสาทหรือวัณโรคอวัยวะอื่น ร่วมกับวัณโรคปอดให้ลงสาเหตุการตายเป็นวัณโรคปอด ยกเว้นทราบแน่ชัดว่าเป็นมาก่อนเป็นวัณโรคปอด
3. ถ้าผู้ตายเกิดการติดเชื้อในกระแสโลหิต (septicemia) หลังการบาดเจ็บเล็กน้อย เช่น แผลถลอก ฟกช้ำ ห้อเลือด แมลงไม่มีพิษกัด first degree burn ให้ลงสาเหตุการตายเป็น Septicemia หรือไฟลามทุ่ง ไม่ใช่สาเหตุของการบาดเจ็บเล็กน้อย แต่ถ้าบาดเจ็บมากกว่านั้นให้ลงสาเหตุการบาดเจ็บเป็นสาเหตุการตาย
4. ไม่ลงสาเหตุการตายว่าจากการสูบบุหรี่ ถึงแม้ว่าน่าจะเป็นสาเหตุ เช่น มะเร็งปอด และหลอดลม โรคหัวใจขาดเลือด ถุงลมปอดโป่งพอง หรือโรคปอดเรื้อรัง เช่นเดียวกับไม่ลงสาเหตุการตายว่าดื่มสุรา ในผู้ที่ตายจากตับแข็งเพราะสุรา 5. ไม่ลงอัมพาต เป็นสาเหตุการตายถ้าทราบสาเหตุของอัมพาต
6. ไม่ลงความดันโลหิตสูงเป็นสาเหตุการตาย ถ้ามีความผิดปกติบางอย่างด้วย - ควรลงเป็นโรคหัวใจจากความดันโลหิตสูง ถ้าหัวใจผิดปกติหรือมี Heart failure - ควรลงเป็นโรคไตจากความดันโลหิตสูง ถ้าไตผิดปกติ เช่น ไตวาย ไตหดเล็กลง - ควรลงเป็นโรคหัวใจและไต จากความดันโลหิตสูง ถ้าทั้งหัวใจและไตผิดปกติ - ควรลงเป็นโรคหัวใจขาดเลือดถ้ามี Ischeamic heart disease - ควรลงเป็นเส้นเลือดสมองแตกหรือตีบตัน ถ้ามี CVA
7. ลงสาเหตุการตายเป็นโรคหัวใจขาดเลือด ถ้าพบ Ischeamic heart disease ใน / ร่วมกับ โรคหัวใจจากความดันโลหิตสูง โรคไตจากความดันโลหิตสูง Essential hypertension หรือหลายโรคพร้อมกัน
8. ไม่ลงสาเหตุการตายเป็น Atherosclerosis ซึ่งเป็นสาเหตุของหลายโรคแต่ลงชื่อโรคไปเลย เช่น ความดันโลหิตสูง หัวใจขาดเลือด กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ CVA