1.81k likes | 2k Views
วิชา การประยุกต์ใช้งานด้านธุรกิจด้วยมัลติมีเดีย ( Multimedia Application in Business) รหัสวิชา BCOM 3301 3(2-2-5).
E N D
วิชา การประยุกต์ใช้งานด้านธุรกิจด้วยมัลติมีเดีย (Multimedia Application in Business)รหัสวิชา BCOM3301 3(2-2-5) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555ผู้สอน อ. เล็กฤทัย ขันทองชัย โทร. (085)138-6677 ห้อง 925/1E-mail :Lekruthai_cru@hotmail.co.thโฮมเพจประจำวิชา : http://msci.chandra.ac.th/lrk/
บทที่ 7 (ต่อ) การสร้าง Animation ด้วยโปรแกรม Adobe Flash
ความต้องการระบบคอมพิวเตอร์ ความต้องการระบบของโปรแกรม Flash CS3 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางระดับ Pentium 4,Core Duo 1 GHz ขึ้นไป ระบบปฏิบัติการ Windows XP ServicePack2 หรือ Windows Vista หน่วยความจำ (RAM) อย่างต่ำ 512 MB (แนะนำให้ใช้ 1 GB) เนื้อที่ของฮาร์ดดิสก์อย่างน้อย 2.5 GB จอภาพสีที่ความละเอียด 1024 x 768 pixels (32 bit) 3
วิทยากร : อ.เล็กฤทัยขันทองชัย
การสร้างไฟล์ด้วยการกำหนดรูปแบบเองการสร้างไฟล์ด้วยการกำหนดรูปแบบเอง Flash Document ไฟล์รูปแบบปกติ ที่ใช้สร้างงานแอนนิเมชันทั่วไป Flash Slide Presentationไฟล์งานที่เหมาะกับการสร้างงานนำเสนอ Flash Form Application ใช้สร้างฟอร์มสำหรับทำเป็นโปรแกรมใช้งานทั่วไป ActionScript File เป็นหน้าต่างที่ไว้เขียนสคริปต์เพียงอย่างเดียว ActionScriptCommunication Fileเขียนไฟล์เพื่อติดต่อกับเชิร์ฟเวอร์ Flash JavaScriptFile เหมาะสำหรับงานเขียนสคริปต์ที่ทำงานร่วมกับ JavaScript หรือ API Flash Project เป็นการรวมกลุ่มงานที่สร้างทั้งหมด ให้ออกมาเป็น Project ไฟล์
แนะนำโปรแกรม • Flash เป็นโปรแกรมที่ใช้สร้าง ภาพเคลื่อนไหวโดยใช้หลักการของ Vector Graphic • ปัจจุบันนิยมสร้างไฟล์ Flash เพื่อใช้ในการนำเสนองานมัลติมีเดียบนเว็บ (SWF ) วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
ประเภทของกราฟิก • Bitmap เป็นภาพที่เกิดจากจุดสีจุดเล็ก ๆ ที่เรียกว่า Pixel ประกอบกันเป็นรูปร่างบนพื้นที่ที่มีลักษณะเป็น ตาราง จะมีปัญหาภาพแตกเมื่อมีการขยายภาพ วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
ประเภทของกราฟิก(ต่อ) • Vector ใช้สมการทางคณิตศาสตร์ เป็นตัวสร้างภาพ เมื่อขยายภาพ ความคมชัดของภาพก็จะยังคงเดิม วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
หลักการทำงานของ Flash ขั้นตอนที่ 1 นำเข้าภาพกราฟิกหรือ ภาพที่สร้างขึ้นมา ขั้นตอนที่ 3 ทำการสร้าง Animation โดยจะใส่เสียง หรือ Script ขั้นตอนที่ 2 แปลงส่วนประกอบต่าง ๆ ให้เป็น Symbol ขั้นตอนที่ 4 Publish ออกมาเป็น ชิ้นงาน วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
นามสกุลของ Flash • *.fla (Flash Movie) • เป็นไฟล์ที่ได้จากการสร้างชิ้นงานใน Flash ที่สามารถนำมาแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ • *.swf (Shockwave Flash) • เป็นไฟล์ที่ Flash สร้างขึ้นหลังจากการแสดงผลออกมา • สามารถดูผลการแสดงได้โดยไม่ต้องเปิดโปรแกรม Flash • ในการ Publish จะมีการสร้างไฟล์ .html เพิ่ม เพื่อเป็นตัวเรียกใช้ไฟล์ *.swf ขึ้นมาให้ทำงาน วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การเข้าสู่โปรแกรม Flash8 • Start • Programs • Adobe Master Collection CS5 • Adobe Flash Professional CS5 วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
ส่วนประกอบหน้าจอโปรแกรมส่วนประกอบหน้าจอโปรแกรม วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การแสดง / ซ่อน Toolbox • เมนู Window Tools วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การแสดง / ซ่อน Panels • Window เลือก Panels ต่าง ๆ • กดปุ่ม F4 เพื่อซ่อน วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
Selection : ใช้เลือก เคลื่อนย้ายวัตถุ Subselection : ใช้ปรับแต่งเส้น Line : ใช้สร้างเส้น Lasso : ใช้เลือกวัตถุ Pen : ใช้วาดเส้นตรงหรือเส้นโค้ง เครื่องมือต่าง ๆ (Toolbox) วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
Text : ใช้สร้างตัวอักษร Oval : ใช้สร้างวงกลม วงรี Rectangle:ใช้สร้างรูปสี่เหลี่ยม Pencil : ใช้วาดเส้น Brush : ใช้ระบายสี เครื่องมือต่าง ๆ (Toolbox) ต่อ วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
Free Transform : ใช้ปรับขนาดและเปลี่ยนแปลงรูปทรงวัตถุ Fill Transform : ใช้ปรับแต่งเฉดสี Ink Bottle : ใช้กำหนดสีเส้น Paint Bucket : ใช้กำหนดสีพื้นให้วัตถุ Eyedropper : ใช้ดูดสี เครื่องมือต่าง ๆ (Toolbox) ต่อ วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
Eraser : ใช้ลบส่วนของวัตถุ Hend : ใช้เลื่อนหน้าจอ Zoom : ใช้ย่อขยาย มุมมอง Option : เป็นที่กำหนดคุณสมบัติของเครื่องมือต่าง ๆ เครื่องมือต่าง ๆ (Toolbox) ต่อ วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การสร้างชิ้นงานใหม่ • เมนู File New • Ctrl + N วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การกำหนดคุณสมบัติเอกสารการกำหนดคุณสมบัติเอกสาร • เมนู Modify Document • Dimensions : ขนาดของเอกสาร • Background Color : สีพื้นหลัง • Frame Rate : จำนวน Frame ที่แสดงต่อวินาที วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การกำหนดคุณสมบัติเอกสาร(ต่อ)การกำหนดคุณสมบัติเอกสาร(ต่อ) • Ruler units : หน่วยของไม้บรรทัด • Make Default : บันทึกค่าที่ได้กำหนดไว้ให้เป็นค่ามาตราฐาน วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การปรับการแสดงขนาดพื้นที่ทำงานการปรับการแสดงขนาดพื้นที่ทำงาน • เลือกขนาดที่ต้องการ • Show Frame : แสดงขนาดชิ้นงานให้พอดีกับพื้นที่ว่าง วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
เมนู View > Rulers ลากเส้นไม้บรรทัดมาไว้ใช้ ถ้าไม่ต้องการใช้ก็ลากเก็บไว้ที่เดิม การเรียกใช้ ไม้บรรทัด วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
Hand Tool (H) • ใช้ในการเลื่อนดูข้อมูล ในกรณีที่ใช้ Tool ใดๆ แล้วต้องการใช้ Hand Tool ให้กด Space bar ค้างไว้ วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
ขยาย ย่อ Zoom Tool ใช้ ย่อ – ขยายหน้าจอ ดูที่ Option กด Alt ค้างขณะคลิก จะได้การ Zoom Tool ตรงกันข้าม Zoom 100% ให้ double click ที่เครื่องมือ Zoom Zoom เท่าขนาดพื้นที่ให้ double click ที่เครื่องมือ Hand วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การวาดภาพ • Line : ใช้วาดเส้นตรง • Oval : ใช้วาดวงกลม, วงรี • Rectangle : ใช้วาดรูปสี่เหลี่ยม • Pen : ใช้วาดเส้นโค้ง วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
Oval Tool • ใช้วาดวงกลม หรือวงรี • กำหนดรูปแบบที่ Properties กด Shift ค้างขณะวาด จะได้วงกลม วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
Rectangle Tool • ใช้วาดสี่เหลี่ยมมุมเหลี่ยม หรือมุมโค้ง กด Shift ค้างขณะวาด จะได้สี่เหลี่ยมจัตุรัส วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
Line Tool • ใช้วาดเส้น • กำหนดรูปแบบที่ Properties ถ้าต้องการให้เส้นตรง ให้กด Shift ค้างขณะวาด วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
ใช้ปรับโค้ง ใช้ย้ายจุด Arrow Tool ใช้เลือก หรือปรับแต่งรูปทรงวัตถุ • - ใช้เลือกวัตถุ • - ย้ายวัตถุ • คัดลอกวัตถุ • (กด Alt ขณะย้าย) วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
Snap Smooth Straighten Arrow Tool (ต่อ) • Option Bar วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
Rectangle Tool วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
Free Transform Tool วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
Rotate Distort Scale Envelope Free Transform Tool วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การปรับขนาดวัตถุ • เลือกวัตถุ • เมนู Modify Transform Scale วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การหมุนวัตถุ • เลือกวัตถุ • เมนู Modify Transform Rotate Rotate 90 CW Rotate 90 CCW วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การพลิกกลับภาพ • เลือกวัตถุ • เมนู Modify Transform • Flip Vertical : บนลงล่าง • Flip Horizontal : ซ้ายไปขวา วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
กำหนดสีเส้น กำหนดสีพื้น สลับระหว่าง สีเส้นกับสีพื้น ไม่กำหนดสี สีที่เป็น Default การปรับแต่งสีวัตถุ วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
Workshop วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การบันทึกเอกสาร • เมนู File Save as • ระบุแหล่งที่เก็บไฟล์ • ตั้งชื่อไฟล์ • OK ** จะได้นามสกุล .fla ** วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การเปิดไฟล์เก่า • เมนู File Open วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
ปรับให้เส้นตรง ปรับให้เส้นโค้ง แทบจะไม่ปรับ Pencil Tool • ใช้วาดเส้น กด Shift ค้างขณะวาด จะเส้นตรงในแนวตั้งและแนวนอน วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
กำหนดว่าจะ Lock ไม่ใช้สี แบบเฉดหรือไม่ กำหนดลักษณะการทาสี เลือกขนาดของ Brush เลือกรูปทรงของ Brush Brush Tool • ใช้ทาสีพื้นให้กับวัตถุ วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
ระบายสีโดยทับทั้งสีพื้นและสีเส้นระบายสีโดยทับทั้งสีพื้นและสีเส้น ระบายสีพื้นไม่ทับสีเส้น ระบายสีนอกบริเวณวัตถุ ระบายสีเฉพาะส่วนที่เลือก ระบายสีเฉพาะในบริเวณกลุ่มที่คลิกเริ่มต้น Brush Tool วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
เลือกรูปแบบของ Eraser ลบทั้งสีพื้นและสีเส้น ลบเฉพาะสีพื้น ลบเฉพาะเส้น ลบเฉพาะสีพื้นที่ถูกเลือก ลบเฉพาะในบริเวณกลุ่มที่คลิกเริ่มต้น ลบส่วนที่คลิกทั้งหมด Eraser Tool • ใช้ลบวัตถุ วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
Ink Bottle Tool • ใช้ใส่สีเส้นโดย Click ที่ขอบวัตถุ วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
กำหนดว่าจะ Lock ไม่ใช้สีแบบเฉดหรือไม่ Paint Bucket Tool • ใช้ใส่สีพื้นของวัตถุ วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
หากชี้ที่เส้นขอบ เป็นการดูดสีเก็บไว้ที่ Stroke Color หากชี้ที่พื้นวัตถุ เป็นการดูดสีเก็บไว้ที่ Fill Color Dropper Tool • ใช้ดูดสีมาเก็บไว้ใช้งาน วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การปรับแต่ง การไล่สี • เมนู Window > Color Mixer • Linear การไล่สีแนวเส้นตรง • Radial การไล่สีแนวรัศมี • (ใส่แนวการไล่สี ได้สูงสุด 8 สี) • Bitmap การใช้รูปภาพ วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย
การปรับแต่ง การไล่สี(ต่อ) • การเพิ่มสี • คลิกขวาที่ • เลือก Add Swatch วิทยากร : อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย