850 likes | 1.11k Views
การวิจัยปฏิบัติการ ( Action R esearch ). วันที่ 30 มีนาคม 2550. ผศ.ดร.สวัสดิ์ โพธิวัฒน์. การสอน. การวิจัย. การสอน การวิจัย. การสอน. การวิจัย. ใหม่. เดิม. ความสัมพันธ์ระหว่างการสอนกับการวิจัย. การ บริหาร. การวิจัย. การบริหาร, การวิจัย. การบริหาร. การวิจัย. ใหม่. เดิม.
E N D
การวิจัยปฏิบัติการ( Action Research ) วันที่ 30 มีนาคม 2550 ผศ.ดร.สวัสดิ์ โพธิวัฒน์
การสอน การวิจัย การสอน การวิจัย การสอน การวิจัย ใหม่ เดิม ความสัมพันธ์ระหว่างการสอนกับการวิจัย
การบริหาร การวิจัย การบริหาร, การวิจัย การบริหาร การวิจัย ใหม่ เดิม ความสัมพันธ์ระหว่าง การบริหารกับการวิจัย
การวิจัย “การค้นคว้าหาคำตอบจากข้อสงสัย หรือปัญหา อย่างมีระบบ เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบ/ความรู้ที่เชื่อถือได้” ? ได้คำตอบ ได้ความรู้ ข้อสงสัย
การศึกษา/อบรม/พัฒนา ครูนักวิจัย การสนับสนุน การยกย่องเชิดชูเกียรติ องค์ประกอบการพัฒนาครูนักวิจัย
โครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้การวิจัยปฏิบัติการ ระยะที่ 1 การเขียนเค้าโครงการวิจัยรายบุคคล( 2 วัน) ระยะที่ 2 การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจัย ( 2 วัน) ระยะที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูลและเขียนรายงานการวิจัย ( 2 วัน )
การวิจัยเป็นหน้าที่ของบุคลากรทางการศึกษาทุกคน ไม่ควรจำกัดอยู่เฉพาะนักวิชาการเท่านั้น สถานศึกษาใดที่มีครูปฏิบัติงานตามคำสั่งเหมือนเครื่องจักร สถานศึกษานั้นจะไม่มีโอกาสพัฒนาและไม่สามารถผลิตผู้เรียนที่มีคุณภาพ ตรงกันข้ามสถานศึกษาที่เปิดโอกาสและกระตุ้นส่งเสริมให้ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกคนได้มีโอกาสแสวงหาความรู้ ได้วิจัยเพื่อนำผลมาใช้ปฏิบัติงาน ปรับปรุงงานในหน้าที่ให้มีคุณภาพมากขึ้น สถานศึกษานั้นจะมีผลงานการจัดการศึกษาที่โดดเด่น และรุดหน้ามากขึ้น ผศ.ดร.สวัสดิ์ โพธิวัฒน์
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 4 มาตรา 24 (5) “ ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอน และแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ” สวัสดิ์ /มรภ.สุรินทร์
แนวทางการสอนโดยใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้แนวทางการสอนโดยใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ครูผู้สอน นักเรียน ครูนำผลการวิจัยมาใช้ประกอบการสอน นักเรียนเรียนรู้จากผลงานวิจัย 1. ใช้ผลการวิจัย นักเรียนเรียนรู้โดย ใช้การวิจัย ครูนำเอากระบวน การวิจัยมาใช้สอน 2. ใช้กระบวนการวิจัย สวัสดิ์ /มรภ.สุรินทร์
กระบวนทัศน์การวิจัยปฏิบัติการกระบวนทัศน์การวิจัยปฏิบัติการ
การวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) การวิจัยเชิงวิพากษ์ (critical research) การวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) สังคมศาสตร์เชิงปฏิฐาน (Positivist Social) สังคมศาสตร์เชิงตีความ (Interpretivist Social) สังคมศาสตร์เชิงวิพากษ์ (Critical Social Science) การวิจัยที่ไม่ใช่การทดลอง การวิจัยเชิงคุณภาพแบบต่างๆ การวิจัยเชิงวิพากษ์ หลักสูตร การวิจัย เชิงทดลอง การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การวิจัยเชิงวิพากษ์กรณีต่างๆ การแสวงหาความรู้ - ความจริง
การวิจัยปฏิบัติการ(Action Research) เป็นกระบวนการที่ผู้ปฏิบัติงานศึกษาการปฏิบัติงาน ของเขา โดยใช้ระเบียบวิธีวิทยาศาสตร์เพื่อค้นพบความจริงเกี่ยวกับสิ่งที่ปฏิบัติ หรือเป็นการแก้ปัญหา เช่นการสร้างและพัฒนาทักษะใหม่ๆ หรือวิธีการใหม่ขึ้น เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหางานที่ปฏิบัติอยู่ โดยดำเนินการวิจัยในที่ปฏิบัติงานนั้นเอง
Action Research หมายถึง วิธีการศึกษาที่มีระเบียบวิธีการเฉพาะ ประกอบด้วย 1)การกำหนดปัญหาในการปฏิบัติงาน2)การแสวงหาลู่ทางในการแก้ปัญหา3)การใช้วิธีการต่างๆในการแก้ปัญหา4)การบันทึกรายละเอียดผลการปฏิบัติการ และ5) การสรุปและเสนอผลการแก้ปัญหา
ลักษณะเฉพาะของการวิจัยเชิงปฏิบัติการทางการศึกษาลักษณะเฉพาะของการวิจัยเชิงปฏิบัติการทางการศึกษา • เป็นปฏิบัติการที่มุ่งแก้ปัญหา/พัฒนางาน • ช่วยให้ได้ความจริงในกรอบวิธีการปฏิบัติ ไม่ต้องการอ้างอิงไปยังกลุ่มอื่น • มีลักษณะยืดหยุ่นในกิจกรรมการปฏิบัติ
จุดเด่นและจุดด้อยของการวิจัยปฏิบัติการจุดเด่นและจุดด้อยของการวิจัยปฏิบัติการ • จุดเด่น @ เป็นการวิจัยที่มีชีวิตชีวา เพราะคำนึงถึงการมีส่วนร่วม @ ผลการวิจัยคือความเจริญก้าวหน้าของทุกฝ่าย @ ผลการวิจัยคือความต้องการของผู้ปกครอง และชุมชน • จุดด้อย @ ผลการวิจัยไม่สามารถสรุปอ้างอิงไปยังกลุ่มอื่นๆได้ เฉพาะเทคนิควิธีเท่านั้นที่จะนำไปประยุกต์กับกลุ่มอื่นๆได้ แต่อาจได้ผลไม่เหมือนกัน
รูปแบบการวิจัยปฏิบัติการตามแนวคิดของ • การวิจัยแบบแยกทำรายบุคคล • ( IndividualTeacherResearch ) 2.การวิจัยแบบร่วมมือ ( CollaborativeActionResearch ) 3.การวิจัยแบบทำทั้งโรงเรียน ( SchoolwideActionResearch )
Action Research พัฒนาขึ้นครั้งแรกโดย Kurt Lewin ( 1952) Carr &Kemmis(1986)แบ่ง Action Research ออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1. Technical Action Research ( (ผู้วิจัยทำตัวเป็นผู้เชี่ยวชาญ) 2. Practical Action Research ( (ผู้วิจัยมีส่วนร่วมกับผู้ร่วมวิจัยมากขึ้น) 3. Participatory Action Research ( (ทั้งผู้วิจัยและผู้ร่วมวิจัย ต่างร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ และร่วมประเมิน)
ความรู้จากการปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาความรู้จากการปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหา ความรู้จากกระบวน การวิจัย การวิจัยปฏิบัติการ + = แนวทางใหม่ภายใต้กระบวนทัศน์การวิจัยเพื่อการเปลี่ยนแปลง
ปัญหา/คำถามที่ครูต้องการตอบปัญหา/คำถามที่ครูต้องการตอบ • นักเรียนควรเรียนรู้อะไร? อยากเห็นนักเรียนเป็นอย่างไร ? • ปัจจุบันนักเรียนเป็นอย่างที่เราอยากให้เป็นหรือไม่ ? • มีวิธีจัดการเรียนการสอนอย่างไรให้นักเรียนเรียนรู้ได้ดี ? • จะรู้ได้อย่างไรว่านักเรียนเกิดการเรียนรู้ ? • ถ้านักเรียนยังไม่เกิดการเรียนรู้ ครูต้องทำอะไร อย่างไรบ้าง ? • นักเรียนที่เรียนรู้ได้ไม่เท่ากัน เป็นเพราะสาเหตุอะไร ? • จำเป็นต้องให้นักเรียนเรียนรู้เท่ากันหรือไม่ ? • นักเรียนที่ไม่เกิดการเรียนรู้ ได้รับผลกระทบอะไรบ้าง ? • หนทางที่ทำให้เด็กเรียนรู้มีกี่แบบ แบบใดได้ผลดีกว่ากัน ? • ฯลฯ
ระดับความลึกของคำถามวิจัย และการแสวงหาคำตอบ ระดับที่ 1คำถามเกี่ยวกับสภาพผู้เรียน (เช่น ปัญหาผู้เรียน ความต้องการ ความสนใจ จุดเด่น จุดด้อย ของผู้เรียน เป็นต้น) ระดับที่ 2คำถามเกี่ยวกับการวิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้ผู้เรียนเกิดปัญหา (เช่น นักเรียนเรียนอ่อนเพราะอะไร ทำไมจึงขาดความรับผิดชอบ ฯลฯ) ระดับที่ 3 คำถามเกี่ยวกับวิธีแก้ปัญหา (เช่น ใช้เทคนิควิธีสอนอย่างไร กิจกรรมที่นักเรียนควรทำคืออะไร ฯลฯ
คำถามสำหรับการเลือกวิธีแก้ปัญหา/นวัตกรรม/เทคนิคการสอนคำถามสำหรับการเลือกวิธีแก้ปัญหา/นวัตกรรม/เทคนิคการสอน • นักเรียนที่มีปัญหามีมากน้อยเพียงใด(ทั้งห้อง /บางกลุ่ม/คนเดียว) ? • นักเรียนที่มีปัญหาชอบการเรียนแบบใด ? • ปัญหาของนักเรียนมีสาเหตุหลักมาจากอะไร ? • นวัตกรรม/เทคนิคการสอน ที่เหมาะสมกับนักเรียนกลุ่มนี้ มีอะไรบ้าง ? • เทคนิคอะไรบ้างที่น่าสนใจนำมาใช้ ? • มีเหตุผลอะไรที่เลือกใช้นวัตกรรม/เทคนิคนั้น ? • แนวคิด หลักการของการใช้นวัตกรรม/เทคนิคนั้นคืออะไร ? • ฯลฯ
ปัจจัย กระบวนการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ ทรัพยากรบุคคล กระบวนการเรียนรู้ ผู้เรียน ครูผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษามืออาชีพ และจำนวนเพียงพอ เน้นผู้เรียนสำคัญที่สุดจัดบรรยากาศการเรียนรู้เอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มีคุณภาพ มาตรฐานมีพัฒนาการทุกด้านเป็นคนดี คนเก่งมีความสุข เรียนต่อและประกอบอาชีพได้ ทรัพยากรวัตถุ เทค-โนโลยี และงบประมาณ การบริหารจัดการ บริหารจัดการดีใช้โรงเรียนเป็นฐานเน้นการมีส่วนร่วม ลักษณะทางกายภาพของโรงเรียน ได้มาตรฐานหลักสูตรเหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น สื่อ/อุปกรณ์และเทคโนโลยีทันสมัย แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน หลากหลาย งบประมาณมุ่งเน้นผลงาน สถานศึกษา การประกันคุณภาพ เป็นที่ชื่นชมของชุมชนเป็นแบบอย่าง และให้ความช่วยเหลือแก่ชุมชนและโรงเรียนอื่น การประกันคุณภาพมีประสิทธิภาพเป็นส่วนหนึ่งของระบบโรงเรียน บริบท สภาพแวดล้อม(สภาพแวดล้อมภายนอกโรงเรียนดี มีสังคม บรรยากาศเอื้อต่อการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ) กรอบแนวคิดเชิงระบบโรงเรียนสมบูรณ์แบบ
ผศ.ดร.สวัสดิ์ โพธิวัฒน์ • ความตั้งใจ • เวลาที่ใช้ • เจตคติ • การควบคุมตนเอง • ความปรารถนา • ภูมิหลัง • ครอบครัว • สติปัญญา • อายุ • เพศ • ผลลัพธ์ • คนดี • คนเก่ง • มีความสุข • ปัจจัยครู • คุณวุฒิ • เจตคติ • ภาระการสอน • วิธีการสอน • ปัจจัยโรงเรียน • ประเภทโรงเรียน • ค่าใช้จ่าย โครงสร้างความสัมพันธ์เชิงเหตุผลที่ทำให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้
ปัญหาการศึกษาไทย ????????
มาตรฐานผู้เรียนต่ำ -- คุณภาพโคม่า @ โรงเรียน 1 ใน 3 อยู่ในเกณฑ์ดี @ 2 ใน 3 ต้องปรับปรุง @ 560 โรงเรียนอยู่ในขั้นวิกฤต ตกทุกมาตรฐาน นักเรียนส่วนใหญ่เป็นเป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีสุขภาพกายและจิตดี มีทักษะดี มีลักษณะนิสัยทางศิลปะดนตรี กีฬา แต่อ่อนในเรื่องความคิดวิเคราะห์ ความรู้ตามหลักสูตร และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ผู้บริหารส่วนใหญ่มีภาวะผู้นำ มีความสัมพันธ์กับชุมชน แต่ต้องปรับปรุงเรื่องการบริหารวิชาการและเรื่องหลักสูตร และสื่อการเรียนการสอน
ครูผู้สอนไม่ตรงวุฒิ และมีจำนวนไม่พอ ขาดอยู่ประมาณ 70,000 คน และครูที่มีอยู่ก็ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทีสอบบรรจุไว้ 30,000 คนก็ยังไม่ได้บรรจุ ปลัดกระทรวงฯ ได้ยืนยันว่าโรงเรียนที่อยู่ในขั้นวิกฤตในทุกมาตรฐานจะต้องกอบกู้ ฟื้นฟูเพื่อมิให้ตกต่ำไปกว่านี้อีกแล้ว สิ่งหนึ่งที่สามารถแก้ปัญหาได้ในระดับต้นๆ คือความร่วมมือร่วมใจของระดับพื้นที่
คุณภาพโดยรวมโคม่า , ผลการเรียนติด “0”,อ่อนในเรื่องความคิดวิเคราะห์ ความรู้ตามหลักสูตร และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง,ฯลฯ
ยอมรับคุณภาพตกต่ำทุกวิชา (มติชน 26 ตค.49) • ม.ต้น-ม.ปลาย ติด “ 0” และมีติดศูนย์แบบสะสม • อ่อนคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ฯ • จบ ม.ปลายคุณภาพต่ำ เข้าเรียนมหา’ลัยก็มีปัญหา
การวินิจฉัยปัญหา(Problem Diagnosis) การวางแผน(Planning) การปรับแผน(Replanning) การปฏิบัติ(Acting) การทบทวน/สะท้อนความคิด(Reflecting) การสังเกต(Observing) วงจรการวิจัยเชิงปฏิบัติการสำหรับครู(ปรับจาก Hitcock and Hughes(1995:29)
กระบวนการบริหาร กระบวนการพัฒนาคุณภาพ กระบวนการวิจัยปฏิบัติการ 1. การวางแผน(P) 2. การนำแผนไป ปฏิบัติ(I) 3. การกำกับ/ประเมินผล(E) 4. การย้อนกลับ(F) 1.Plan 2. Do 3. Check 4. Act 1.Planning 2. Acting 3. Observing 4. Reflecting วางแผน ปฏิบัติ สังเกต,บันทึก สะท้อนผล ความคล้ายคลึงของกระบวนการวิจัย กระบวนการบริหาร และกระบวนการพัฒนาคุณภาพ
การวางแผน(P) การปรับปรุง(A) การปฏิบัติ(D) การประเมิน(C) การวางแผน(P) การสะท้อนผลและปรับปรุง(R) การปฏิบัติ(A) การสังเกต(O) วงจรคุณภาพภายใน หากยังไม่มีวิธีการแก้ไขปัญหาจำเป็นต้องสืบค้นด้วยการวิจัย นำข้อค้นพบจากการวิจัยสู่การปฏิบัติอีก วงจรการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
ความคิดหลักเกี่ยวกับคุณภาพความคิดหลักเกี่ยวกับคุณภาพ QUALITY IN FACT : DOING THE RIGHT THING DOING IT THE RIGHT WAY DOING IT RIGHT THE FIRST TIME DOING IT RIGH ON TIME RESEARCH
หลักการสำคัญที่เป็นพื้นฐานของคุณภาพคือหลักการสำคัญที่เป็นพื้นฐานของคุณภาพคือ การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ดีแล้วยังไม่พอ จะมีทางที่ดีกว่าอยู่เสมอ มีวิธีแก้ปัญหาทีดีกว่า เมื่อตั้งใจอย่างนี้แล้วจึงกำหนดมาตรฐานให้สูงขึ้น ลงมือทำ คิดหาวิธีประเมินผล พิจารณาช่องว่างระหว่างผลที่เกิดกับผลที่ต้องการจะให้เกิด
แก่นแท้ของการเรียนการสอนและงานทั้งปวงก็คือการเรียนรู้ของผู้เรียนแก่นแท้ของการเรียนการสอนและงานทั้งปวงก็คือการเรียนรู้ของผู้เรียน
การเรียนรู้มีความหมาย ครอบคลุมทั้ง • กระบวนการเรียนรู้ (ขั้นตอน, วิธีการเรียน) และ • ผลการเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, ความรู้สึก)
บอก / บรรยายสาระ สั่งให้ปฏิบัติตาม เน้นเนื้อหา สอนแยกวิชา ไม่สนใจกระบวนการเรียนรู้ ไม่อบรมบ่มนิสัย ฯลฯ ไม่ตื่นตัว ขาดการใช้ความคิด ขาดการปฏิบัติ ไม่เชื่อมโยงกับชีวิต ไม่เห็นภาพรวม ขาดปฏิสัมพันธ์ ไม่รู้กระบวนการ ฯลฯ ปัญหาในกระบวนการเรียนรู้ ปัญหาในกระบวนการสอน
ปัญหาคุณสมบัติผู้เรียน / ผลผลิต • เฉื่อยชา • คิดไม่เป็น / แก้ปัญหาไม่ได้ • นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ไม่ได้ • ขาดจริยธรรม • ขาดการคิดแบบเชื่อมโยง • เห็นแก่ตัว เครียด ฯลฯ
ตัวอย่างคำถามวิจัยจากการวิเคราะห์ตัวป้อนตัวอย่างคำถามวิจัยจากการวิเคราะห์ตัวป้อน • นักเรียนมีความต้องการเรียนรู้ หรือสนใจในเรื่องใดบ้าง อย่างไร? • นักเรียนในชั้นเรียน มีปัญหาเกี่ยวกับการเรียนในเรื่องใดบ้าง ? • นักเรียนมีพื้นฐานความรู้ความสามารถ เพียงไร ? • วิธีสอนที่เหมาะสมสำหรับการเรียนรู้ของนักเรียนกลุ่มนี้คือ วิธีใด ? • เนื้อหาหลักสูตรที่เหมาะสำหรับการจัดการเรียนรู้เป็นอย่างไร ฯลฯ
คำถามเกี่ยวกับกระบวนการคำถามเกี่ยวกับกระบวนการ • การใช้กิจกรรม...X.. ทำให้พฤติกรรม Y ของผู้เรียนเปลี่ยนแปลงเพียงใด? • การใช้วิธีการ... และวิธีการ ... แก้ปัญหา .. ทำให้เกิดผลแตกต่างกันหรือไม่ ? • สาเหตุของพฤติกรรมเบี่ยงเบน ... เกิดจากอะไรบ้าง ? ฯลฯ 1 2 2 3
คำถามเกี่ยวกับผลลัพธ์คำถามเกี่ยวกับผลลัพธ์ 1 • ผู้เรียนที่ได้รับการสอนโดยวิธี.....มีพฤติกรรม...ถึงเกณฑ์ขั้นต่ำหรือไม่ ? • ภายหลังจากการเรียนเรื่อง...ผู้เรียนมีเจตคติเป็นอย่างไร ? • วิธีการแก้ปัญหาแบบ...ให้ผลดีกว่าแบบ...หรือไม่ ? อย่างไร ? • ผู้เรียนมีพฤติกรรม...ภายหลังการสอนดีกว่าก่อนการสอนจริงหรือไม่ ? ฯลฯ พุทธิพิสัย : ความรู้, ผลการเรียนรู้, การคิดวิเคราะห์, การแก้ปัญหา ฯ ทักษะพิสัย : ออกแบบ, ประดิษฐ์, อ่านคำยาก, สาธิต, ทักษะ... จิตพิสัย : สนใจ, พึงพอใจ, เจตคติ, ตระหนัก, ค่านิยม,ความรับผิดชอบฯ 2 3 4 ตัวอย่างพฤติกรรมที่คาดหวัง
เครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือสำคัญที่ใช้ในการวิจัย แผนการสอน นวัตกรรม เครื่องมือวัดผล เครื่องมือแต่ละประเภทนำไปพัฒนาเป็นผลงานทางวิชาการได้
ตัวบ่งชี้การเรียนการสอนของครูตัวบ่งชี้การเรียนการสอนของครู 1.ให้ผู้เรียนสร้างความรู้เอง (Construct) 2.ให้ผู้เรียนใช้ทักษะกระบวนการ(Process skill)หรือกระบวนการคิด(Thinking process)และกระบวนการกลุ่ม (Group process)สร้างความรู้ด้วยตนเอง 3.ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน(Participation)ลงมือคิดปฏิบัติ สรุปความรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งให้มีปฏิสัมพันธ์(Interaction)ทั้งภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม
4.สร้างบรรยากาศให้เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ทั้งกายภาพและจัดให้เรียนอย่างมีความสุข (Happy Learning) 5.วัดและประเมินผลพฤติกรรมผู้เรียน และเนื้อหาด้วยคือประเมินตามสภาพจริง (Authentic Assessment) 6.ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้(Application)
ตัวบ่งชี้การเรียนรู้ของ “นักเรียน” 1. สร้างความรู้ (Construct) รวมทั้งสร้างสิ่งประดิษฐ์ด้วยตนเอง 2. ใช้ทักษะกระบวนการ (Process Skills) คือกระบวนการคิดและกระบวนการกลุ่ม 3. มีส่วนร่วมในการเรียน (Participation) และมีปฏิสัมพันธ์กัน(Interaction) 4.เรียนรู้อย่างมีความสุข(Happy Learning) 5.สามารถนำความรู้ไปใช้ได้(Application)
การเขียนโครงการวิจัย 3 บท บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 วรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย
หัวข้อการเขียนฉบับสมบูรณ์หัวข้อการเขียนฉบับสมบูรณ์ บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา( 3-5 หน้า) คำถามวิจัย (เขียนเป็นข้อๆ) วัตถุประสงค์ของการวิจัย (เขียนให้สอดคล้องกับคำถามวิจัย) สมมุติฐานการวิจัย (เขียนจากวัตถุประสงค์ข้อที่มีการเปรียบเทียบ) ขอบเขตการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ นิยามปฏิบัติการ ผศ.ดร.สวัสดิ์ โพธิวัฒน์
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา @ เริ่มจากเรื่องกว้างๆ หรือเรื่องทั่วๆไป ไปสู่เรื่องเฉพาะที่เราทำวิจัย @ มีการอ้างอิงกรณียกข้อความของคนอื่นมา @ กล่าวถึงหลักสูตร และการใช้หลักสูตร @ ระบุปัญหาการจัดการเรียนรู้ และแนวทางแก้ไข @ อธิบายเหตุผลการเลือกวิธีแก้ไข(นวัตกรรม) ผศ.ดร.สวัสดิ์ โพธิวัฒน์
มีอะไรที่ควรเพิ่มเข้าไปในบทที่ 1 @ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (ถือว่าเป็นนโยบายชาติ หรือนโยบายสาธารณะทางการศึกษา) @ พระบรมราโชวาท / พระราชดำรัส ในโอกาสต่างๆ @ นโยบายของรัฐบาล / นโยบายทางการศึกษาปัจจุบัน @ นโยบายของเขตพื้นที่ หรือนโยบายสถานศึกษา ผศ.ดร.สวัสดิ์ โพธิวัฒน์
นโยบาย ศธ. • เร่งรัดปฏิรูปการศึกษา โดยยึดหลักคุณธรรมนำความรู้ • ขยายโอกาสการศึกษาขั้นพื้นฐาน 12 • พัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับ • กระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่ และสถานศึกษา • ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเอกชน ประชาชน และท้องถิ่น • พัฒนาการศึกษาในเขตพื้นที่พิเศษ ชายแดนภาคใต้