300 likes | 889 Views
ถอดบทเรียนการพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว ( SRRT ) เขต สคร .7 อบ. โดย กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง. โครงสร้างกลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง. ความสำคัญของทีม SRRT. 1. เฝ้าระวัง โรคติดต่อที่แพร่ระบาดได้รวดเร็วรุนแรง 2. ตรวจจับ public health emergency
E N D
ถอดบทเรียนการพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) เขต สคร.7 อบ โดย กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
โครงสร้างกลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรองโครงสร้างกลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
ความสำคัญของทีม SRRT 1. เฝ้าระวังโรคติดต่อที่แพร่ระบาดได้รวดเร็วรุนแรง 2. ตรวจจับ public health emergency 3. ออกสอบสวนโรคอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว 4. ควบคุมโรคฉุกเฉิน/ขั้นต้น เพื่อหยุดยั้งการแพร่ระบาด ไม่ให้ขยายวงกว้าง 5. แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารเฝ้าระวังโรค
“ตัดไฟแต่ต้นลม” ทีมในพื้นที่เกิดเหตุ ดำเนินการก่อน ทีมพื้นที่ทีมแรกสุด คือ ทีมระดับอำเภอ หลักการทำงานของ SRRT
องค์ประกอบของทีม SRRT หัวหน้าทีม (แพทย์) แกนหลัก (ควบคุม) แกนหลัก (เฝ้าระวัง) แกนหลัก (สอบสวน) ผู้ร่วมทีม (พยาบาล) ผู้ร่วมทีม (ชันสูตร) ผู้ร่วมทีม (สุขศึกษา) ผู้ร่วมทีม (ฯลฯ)
แรงบันดาลใจ ปัจจัยนำเข้า -ยุทธ์ที่ 1 กรม -ประชุม -อบรม -ให้คำปรึกษา -กำกับติดตาม IHR 2005 สคร.7 อบ พัฒนาสมรรถนะทีม SRRT การขับเคลื่อนร่วมกันของเครือข่ายจำเป็น ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานเป็นระบบ SRRT มีความรู้,ทักษะ การสร้างความชำนาญด้านระบาดวิทยา สำคัญมากต่ออำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง SRRT จึงเป็นกลไกการจัดการ ระบบระบาดวิทยาที่ดีในพื้นที่
สิ่งที่อยากให้เกิดขึ้นสิ่งที่อยากให้เกิดขึ้น • SRRT ระดับอำเภอผ่านมาตรฐานทุกแห่ง ในปี 2558 • เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เทคนิค กระบวนการ ขั้นตอนการทำงาน ให้ได้แนวทางเฝ้าระวังสอบสวนโรคที่ดี • ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้ความสำคัญ นำมาตรฐานมาสอดแทรกในงานประจำ
กิจกรรมที่ทำ การประชุมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการพัฒนา SRRT อำเภอ/จังหวัด ในวิธีคิด วิธีการทำงาน(ความสำเร็จ และล้มเหลว)
กิจกรรมที่ทำ (ต่อ) การออกกำกับติดตามเครือข่าย 1.สนับสนุนด้านวิชาการ 2.แลกเปลี่ยนประสบการณ์กัน 3.การรับรองมาตรฐาน SRRT
แผนสนับสนุนเครือข่าย SRRT ปี 2555 1.จัดอบรม SRRT ใหม่ระดับอำเภอ/จังหวัด 2.การชี้แจงการรับรองมาตรฐาน SRRT ร่วมกับจังหวัดในเขต 11,13 3.สนับสนุนค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการให้แก่เครือข่าย SRRT 4.สนับสนุน GIS โรคติดต่อให้แก่เครือข่าย SRRT 5.การประชุมวิชาการระบาดวิทยาระดับเขตของเครือข่าย SRRT 6.การออกกำกับติดตามเพื่อรับรองมาตรฐานของเครือข่าย SRRT
ผลที่เกิดขึ้น 1.SRRT ระดับจังหวัด ผ่านมาตรฐานปี 2554 ครบทุกแห่ง (ระดับดี 2 แห่ง สสจ.มุกดาหาร และสสจ.อำนาจเจริญ) 2.SRRTระดับอำเภอ ผ่านมาตรฐาน (ปี 2552 – 2555) 69 แห่ง (ผ่านระดับดี 11 แห่ง) 3.สิ่งดี ๆ ที่ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ของเครือข่าย SRRT ผ่านระดับดี (อ.เมือง และ อ.กันทรารมย์) ได้สิ่งที่สำคัญ 3 อย่าง 3.1 รูปแบบที่ดีของทีม SRRT 3.2 ขั้นตอนการเฝ้าระวังโรคที่ดี 3.2 ขั้นตอนการสอบสวนโรคที่ดี
รูปแบบที่ดีของทีม SRRT • ปัจจัยนำเข้า • มีบุคลากร • มีองค์ความรู้ด้านระบาดวิทยา • รายงานสถานการณ์โรค • งบประมาณ/พาหนะ • เครื่องมือ/อุปกรณ์สอบสวนโรค กระบวนการ -การรับ - แจ้งข่าว -ประสานผู้เชี่ยวชาญ -ประสานทีมงาน -สอบสวนโรค/แลกเปลี่ยนการทำงาน -สรุปผล/ รายงานผู้บริหาร ผลผลิต -รายงานสอบสวนโรค -ควบคุมการระบาดได้
ขั้นตอนการเฝ้าระวังโรคที่ดีขั้นตอนการเฝ้าระวังโรคที่ดี เหตุการณ์ผิดปกติ เหตุการณ์ผิดปกติ แจ้งข่าว จังหวัดแจ้ง อสม.ประจำหมู่บ้านแจ้งเหตุ ตรวจ สอบ ไม่ใช่ 506/ข้อมูลผู้ป่วย Evenbase SRRT ตำบล สิ้นสุด ประสานงาน ใช่ สอบ สวน ผู้นำชุมชน/อสม. ทีม SRRT อำเภอ ควบคุมโรคได้รวดเร็ว
สอบสวนเฉพาะราย สอบสวนการระบาด ขั้นตอนการสอบสวนโรคที่ดี รู้ว่าต้องสอบสวน(มีเกณฑ์) รู้ว่าต้องสอบสวน รวบรวมข้อมูลผู้ป่วย รวบรวมข้อมูลผู้ป่วย นิยามผู้ป่วย/ ผู้สัมผัส รูปแบบการศึกษา เก็บวัตถุตัวอย่าง ใช้สถิติ +/- เก็บวัตถุตัวอย่าง เขียนรายงาน เขียนรายงาน
ความก้าวหน้า ความสำเร็จ ความภาคภูมิใจ 1.เครือข่าย SRRT ผ่านมาตรฐาน(2552 – 2554) 49 แห่ง เพิ่มขึ้นปี 2555 เป็น 69 แห่ง 2.เครือข่าย SRRT มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน 3.มีรูปแบบ แนวทางการเฝ้าระวัง และสอบสวนโรคที่ดี 4.เครือข่าย SRRT บางแห่งสามารถแทรกซึมมาตรฐานในงานประจำได้
เส้นทางสู่ความสำเร็จ 1.ระบบพี่เลี้ยงที่ดีจะช่วยสร้างบุคลากรใหม่ในทีม SRRT สคร.7 อบ ให้เกิดองค์ความรู้ ทักษะ 2.สร้างผู้รับผิดชอบภารกิจรายโรคในการเป็นพี่เลี้ยงเครือข่าย SRRT 3.การมีผู้เชี่ยวชาญจากสำนักระบาดวิทยาช่วยให้การสอบสวนโรค มีคุณภาพ 4.การสร้างขวัญกำลังใจ ยกย่องเชิดชูเกียรติเครือข่าย SRRT
สิ่งที่ไม่ได้ดั่งใจ…จะแก้ไขอย่างไรสิ่งที่ไม่ได้ดั่งใจ…จะแก้ไขอย่างไร SRRT ระดับอำเภอไม่ผ่านมาตรฐาน 31 แห่ง ปัญหาที่พบ ประเด็น1: คุณภาพการเขียนรายงานและสอบสวนโรคไม่ผ่านเกณฑ์ ประเด็น2 : ขาดการฝึกฝนตนเองอย่างต่อเนื่อง เจ้าหน้าที่ใหม่ แก้ไข : ให้ความรู้ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในมาตรฐาน สนับสนุนคู่มือ แนวทางการเขียนสอบสวนโรคที่ดี ให้คำปรึกษา วิทยากร สื่อออนไลน์ ประเด็น3 : บุคลากร SRRT สคร.7 ที่มีชำนาญประเมินมาตรฐานมีจำกัด ประเด็น4: บุคลากร SRRT สคร.7 ใหม่ต้องเรียนรู้งานเอง มีผลล่าช้าต่อการสร้างทีมสนับสนุนเครือข่ายให้ทั่วถึงได้ แก้ไข : พี่เลี้ยงถ่ายทอดความรู้ ทักษะ สอนงานให้บุคลากรใหม่ อบรม
สิ่งที่ได้มาโดยไม่คาดหวัง 1.สำนักระบาดวิทยาเชิดชูเกียรติ เครือข่าย SRRT จังหวัดอำนาจเจริญ และเครือข่าย SRRT จังหวัดมุกดาหารมีผลงานเฝ้าระวังสอบสวนโรคดีเด่นระดับประเทศ ปี 2554 2.สำนักระบาดวิทยาเชิดชูเกียรติคนทำงาน SRRT อ.เมือง จ.ยโสธร เป็นคนดี ศรีระบาดระดับประเทศ ปี 2554 3.จังหวัดในเขตสาธารณสุขที่ 11 และ 13 มีผลผลิตรายงานสอบสวนโรคครอบคลุม 89% สูงที่สุดในประเทศ (ส.ค.55) 4.เครือข่าย SRRT ระดับจังหวัด ผ่านมาตรฐานทุกแห่งในปี 2554 5.มาตรฐาน SRRT สร้างระบบระบาดวิทยาที่ดี ลดอัตราป่วย/ตาย 6.รายงานสอบสวนโรคเป็นผลงานวิชาการที่คนทำงานพัฒนาตนเอง และได้ข้อเสนอเชิงนโยบาย
ความคิด ความรู้ ทักษะที่ได้ 1.ได้แนวทางการวางแผนปิดจุดอ่อน (Gap) อุปสรรคที่เกิดขึ้น ซึ่งได้แนวทางการพัฒนามาตรฐานให้มีประสิทธิภาพ 2.ได้ความรู้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่าย SRRT 3.เกิดทักษะในการฝึกจัดการความรู้ ในประเด็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ จับประเด็นสำคัญ และสัมพันธภาพที่ดี
ข้อเสนอแนะในการสนับสนุนข้อเสนอแนะในการสนับสนุน 1.ผู้บริหาร - ควรสร้างแรงจูงใจและยกย่องเชิดชูเกียรติคนทำงานให้สอดคล้องตามภารกิจที่เพิ่มขึ้น • ควรนำข้อมูลผลประเมิน SRRT มาสังเคราะห์จุดอ่อน อุปสรรค เพื่อกำหนดนโยบาย หรือแนวทางปฏิบัติของคนทำงานและเครือข่าย 2.ผู้ปฏิบัติ - อยากได้คู่มือหรือแนวทางการเขียนรายงานสอบสวนโรคที่มีคุณภาพ
ขอขอบคุณ • ผู้อำนวยการ สคร.7 อบ สนับสนุนการดำเนินงานเป็นอย่างดี • หัวหน้ากลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง ที่ช่วยเหลือให้คำปรึกษา • SRRT อ.กันทรารมย์ จ.ศรีสะเกษ และSRRT อ.เมือง จ.อำนาจฯ เอื้อเฟื้อข้อมูล • เจ้าหน้าที่ระบาดฯทุกคนที่ช่วยกันทำจนสำเร็จ