630 likes | 1.28k Views
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่ 4 (Service Plan). นายแพทย์สุรชัย โชคครรชิตไชย รอง ผู้อำนวยการ รพ . พระนครศรีอยุธยา. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4. วิสัยทัศน์เขตสุขภาพ. พื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลางตอนบน. นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สระบุรี
E N D
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่ 4 (Service Plan) นายแพทย์สุรชัย โชคครรชิตไชยรองผู้อำนวยการ รพ.พระนครศรีอยุธยา
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 วิสัยทัศน์เขตสุขภาพ พื้นที่ 8จังหวัดภาคกลางตอนบน นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี นครนายก
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 จำนวนหน่วยบริการทุติยภูมิ-ตติยภูมิ
วิสัยทัศน์เขตสุขภาพ พื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลางตอนบน ลพบุรี เป็นผู้นำด้านสุขภาพที่มีคุณภาพมาตรฐาน พัฒนาระบบบริการอย่างต่อเนื่อง โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็ง สู่สุขภาวะที่ดีของประชาชน สิงห์บุรี สระบุรี อ่างทอง นครนายก พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี
พันธกิจ (MISSION) 1. พัฒนาระบบบริการสุขภาพทุกระดับอย่างต่อเนื่องตามมาตรฐาน 2. เสริมสร้างศักยภาพบุคลากรทั้งภาครัฐ เอกชน ภาคประชาสังคม ให้มีคุณภาพและมีความสุข 3. ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ให้เข้มแข็งอย่างยั่งยืน 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์เขตสุขภาพพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลางตอนบน
ผลการดำเนินงานของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผลการดำเนินงานของการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ 4
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 การดำเนินการของเครือข่ายบริการที่ 4 1. ตั้งคณะกรรมการดำเนินการของเครือข่าย • คณะกรรมการบริหารเครือข่าย • คณะกรรมการจัดทำแผน 10 สาขา และตัวแทนเครือข่าย 2. กำหนดระดับของสถานบริการในเครือข่าย
โครงสร้างการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพโครงสร้างการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข คณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายบริการสุขภาพระดับเครือข่าย เครือข่ายที่ 4 สำนักเลขานุการ คณะอนุกรรมการด้านพัฒนาระบบบริการ (ดูแลระบบส่งต่อในเครือข่าย) คณะอนุกรรมการด้านบุคลากร คณะอนุกรรมการด้านการเงินการคลัง คณะอนุกรรมการด้านพัฒนาคุณภาพ คณะทำงานด้านศูนย์ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน คณะทำงานด้านพัฒนาระบบบริการตติยภูมิ 1.หัวใจ 6. จิตเวช คณะทำงานด้านพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิ 2.อุบัติเหตุ 7. 5 สาขาหลัก คณะทำงานด้านพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ 8. ทันตกรรม 3.ทารกแรกเกิด 9.บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม 4.มะเร็ง 5. ตาและไต 10. โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 การดำเนินการของเครือข่ายบริการที่ 4 3. ทำแผนพัฒนาเครือข่าย • การแก้ปัญหาเฉพาะพื้นที่ • การจัดการระบบส่งต่อภายในจังหวัด+ภายในเขต • Mapping บริการแต่ละสาขา • กำหนดเป้าหมาย (Shorttermและ Longterm) • กำหนด KPI (Shorttermและ Longterm) • กำหนดแผนงานและระบบติดตาม
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เป้าหมายระยะสั้น เป้าหมายระยะยาว KPI Out come
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครื่องชี้วัดการดำเนินงานเครือข่ายบริการโรคหัวใจและหลอดเลือด
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครือข่ายบริการด้านโรคหัวใจและหลอดเลือด A1 รพ.ทรวงอก
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 • โรงพยาบาลระดับ A และระดับ S ทุกแห่งสามารถให้thrombolytic agent ได้ในปี 2558พัฒนา รพท.(M1) และ S,M,F .ให้มีการจัดตั้ง Stroke Unit ทุกรพ. • พัฒนา Referral system การดำเนินงานเครือข่ายบริการสาขาหลอดเลือดสมอง
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครื่องชี้วัดการดำเนินงานโรคหลอดเลือดสมอง อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมองตีบและอุดตันลดลงร้อยละ 2 อัตราเพิ่มของโรคหลอดเลือดสมองลดลงร้อยละ 2-4 อัตราการได้รับ Thrombolytic Agent ภายใน 3-4.5 ชั่วโมง ตั้งแต่เริ่มมีอาการแสดงของภาวะหลอดเลือดสมองตีบเพิ่มขึ้นร้อยละ 20
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 2.สาขามารดาและทารกแรกเกิด
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครือข่ายบริการด้านทารกแรกเกิด A2 A1 A2
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครื่องชี้วัดการดำเนินงานสาขามารดาและทารกแรกเกิด
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 3.ระบบบริการสุขภาพสาขามะเร็ง
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครือข่ายบริการด้านมะเร็ง ศูนย์มะเร็งลพบุรี A1 ศูนย์มะเร็งธัญญบุรี
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 - มะเร็งปากมดลูก - มะเร็งเต้านม - มะเร็งลำไส้ - มะเร็งปอด - มะเร็งท่อน้ำดี- มะเร็งตับ เครื่องชี้วัดการดำเนินงานสาขามะเร็ง
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 4.ระบบการบริการสุขภาพสาขาอุบัติเหตุ กำหนดตัวชี้วัดคุณภาพ แผนการส่งต่อภายในเครือข่าย
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครือข่ายบริการด้านอุบัติเหตุ A1 A2 A2 รพ.ธรรมศาสตร์ฯ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครื่องชี้วัดการดำเนินงานสาขาอุบัติเหตุ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครื่องชี้วัดการดำเนินงานสาขาอุบัติเหตุ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 5.1ระบบบริการสุขภาพสาขาจักษุ +รพ. พระนั่งเกล้า รพศ. สระบุรี รพ. สมเด็จพระนารายณ์ 2557 2558 +รพศ. อยุธยา
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครื่องชี้วัดการดำเนินงานสาขาจักษุ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 แผนการจัดหา Fundus camera
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 5.2 ระบบบริการสุขภาพสาขาโรคไต เครื่องชี้วัด/เป้าหมาย จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการลดลงร้อยละ 50 อัตราการติดเชื้อไม่เกินมาตรฐาน ผู้ป่วยได้รับการเยี่ยมบ้านอย่างสม่ำเสมอปีละ 1 - 2 ครั้ง
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 6.ระบบบริการสุขภาพสาขาจิตเวช 2 3 1 2 1 3 3 2 1 3 3 2 1 = ระดับA 2 = ระดับS 3= ระดับ M1 การจัดตั้งคลินิกจิตเวช ใน รพ.ชุมชนทุกแห่งในเครือข่าย มากกว่า ร้อยละ 80 การพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยในเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 4
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครื่องชี้วัดการดำเนินงานสาขาจิตเวช common disease ๑๐ โรค -โรคจิตเภท -โรควิตกกังวล -โรคซึมเศร้า -ภาวะปัญญาอ่อน -ภาวะออทิสติก -โรคสมาธิสั้น(ADHD) -ภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ (LD) -Dementia -Alcohol dependence disorder -Substance used disoreer ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ มากกว่า 31% ร้อยละของ รพศ./รพท. มีบริการสุขภาพจิตและจิตเวชตามเกณฑ์ระดับที่ ๓ อัตราการส่งต่อ ผู้ป่วยออกนอกเครือข่ายบริการ ลดลง50 % ร้อยละของศูนย์ให้คำปรึกษาคุณภาพ และเชื่อมโยงกับระบบช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน มากกว่า /เท่ากับ 70%
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาหลัก(สูติ-ศัลย์-อายุรกรรม-ออร์โธดิกส์)แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาหลัก(สูติ-ศัลย์-อายุรกรรม-ออร์โธดิกส์) ปัญหา งานสาขาหลัก
เครือข่ายบริการด้านสาขาหลัก (สูติ ศัลย์ อายุรกรรมออร์โธปิดิกส์) A1 A2 A2
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครื่องชี้วัดการดำเนินงาน ด้านสาขาหลัก (สูติ ศัลย์ อายุรกรรมออร์โธปิดิกส์)
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพศัลยกรรม-สูติกรรมแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพศัลยกรรม-สูติกรรม ปี 2558 เพิ่มศักยภาพการผ่าตัดโรคไส้ติ่งอักเสบและผ่าตัดคลอดที่โรงพยาบาลระดับ M2 M2 โคกสำโรง M2 ชัยบาดาล M2 บางปะอิน M2 บางใหญ่ M2 ธัญบุรี M2 บางบัวทอง
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขากุมารเวชกรรม
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครื่องชี้วัดสาขากุมารเวชกรรม
เครือข่ายบริการด้านกุมารเวชกรรมเครือข่ายบริการด้านกุมารเวชกรรม A1 A1 A2 A2
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 ระบบบริการสุขภาพสาขาOrtho
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 1.severe hand injury2.Soft tissue reconstruction เครื่องชี้วัด การดำเนินงานสาขา Ortho • อัตราการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการลดลง50% • 3.TB Spine4.Osteomyelitis5.Spinal Cord injury6.Hip Fracture ที่ไม่ได้ผ่าตัด จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการ Refer back เพิ่มขึ้น อัตราครองเตียงในผู้ป่วยโรคเรื้อรังในโรงพยาบาลแต่ละระดับลดลง
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 8.ระบบบริการสุขภาพสาขาทันตกรรม
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครื่องชี้วัดสาขาทันตกรรม ร้อยละของผู้ป่วย OP (walk in) ทางทันตกรรมของ ศสม. เทียบกับ รพ.แม่ข่าย ร้อยละจำนวนรายบริการ P&Pต่อบริการสุขภาพ ช่องปากทั้งหมด ร้อยละของประชาชนในเครือข่ายเข้าถึงบริการทันตกรรมในรอบปีเพิ่มขึ้น ร้อยละของหน่วยบริการที่สามารถพัฒนาระบบทันตกรรม เฉพาะทางเทียบกับเป้าหมาย
9.ระบบบริการสุขภาพสาขาบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ด้านองค์รวม • เป้าหมาย :พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอได้มาตรฐาน แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบเครือข่ายบริการสุขภาพระดับอำเภอ แผนพัฒนาบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ แผนลงทุน วัสดุ /ครุภัณฑ์/ เครื่องมือ แผนกำลังคน + + ปี 2557 เน้นบริการ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ป่วยจิตเวช และผู้ป่วยระยะสุดท้าย
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 -ร้อยละของอำเภอที่มี Distric Health System อย่างมีคุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 -ร้อยละของศูนย์เด็กเล็กคุณภาพระดับดี และดีมาก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 -ร้อยละคลินิกผู้สูงอายุผู้พิการคุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 -ร้อยละของผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยที่ได้มาตรฐานเท่ากับร้อยละ 14 เครื่องชี้วัดสาขาบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และสุขภาพองค์รวม
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 10.ระบบบริการสาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 เครื่องชี้วัดสาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) -ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงร้อยละโรคเบาหวาน/ความดันสูงที่มีการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส และลดเสี่ยงไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 -ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมความดันโลหิตได้ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 -สัดส่วนของผู้ป่วยนอกเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่ได้รับการรักษาที่ ศสม./รพ.สต. มากกว่าร้อยละ 50
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เครือข่าย 4 การบริหารจัดการงบประมาณเครือข่ายบริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข 1.เครือข่ายศูนย์เชี่ยวชาญ 2.การจัดประชุมกำหนดกลยุทธ์แผนการดำเนินงาน 3.การจัดผู้นิเทศติดตามงานระดับเครือข่าย 4.การประเมินผลลัพธ์ระดับเครือข่าย