3.29k likes | 10.42k Views
ขั้นตอนการปฏิบัติ QC Story Theme Achievement. บุนนาค รัตนากร. Problem Solving. Theme Achievement. 1. คัดเลือก Theme. เลือกขั้นตอน. 2. จับสภาพปัจจุบัน กำหนดเป้าหมาย. 2. กำหนดจุดรุกและเป้าหมาย. 3. วิเคราะห์สาเหตุ. 3. เสนอแนวทาง. 4. พิจารณาหามาตรการ. 4. ค้นหาทางเลือกที่นำไปสู่ความสำเร็จ.
E N D
ขั้นตอนการปฏิบัติQC Story Theme Achievement บุนนาค รัตนากร
Problem Solving Theme Achievement 1.คัดเลือกTheme เลือกขั้นตอน 2. จับสภาพปัจจุบัน กำหนดเป้าหมาย 2. กำหนดจุดรุกและเป้าหมาย 3. วิเคราะห์สาเหตุ 3. เสนอแนวทาง 4. พิจารณาหามาตรการ 4. ค้นหาทางเลือกที่นำไปสู่ความสำเร็จ 5. ดำเนินมาตรการ 5. ดำเนินทางเลือกที่นำไปสู่ความสำเร็จ ตรวจสอบผลลัพธ์ 6. จัดทำเป็นมาตรฐาน บริหารผลลัพธ์ให้คงอยู่ต่อเนื่อง 7. ทบทวนข้อผิดพลาด ปรับปรุงในครั้งต่อไป
ขั้นตอนการปฏิบัติ QC Story Theme Achievement 1. กำหนดหัวข้อ วางแผนกิจกรรม แบ่งบทบาทหน้าที่ 2. ตรวจสอบระดับปัจจุบันและระดับที่ต้องการให้เห็นช่องว่าง อย่างชัดเจนเพื่อหาแนวทางในการกำหนดวิธีดำเนินการคือการกำหนดจุดรุกให้ชัดเจน ตรวจสอบเป้าหมาย ที่ต้องการบรรลุ กำหนดเป้าหมาย 3. ระดมสมองหาแนวทางดำเนินการ ประเมิน เลือกวิธีดำเนินการที่เหมาะสม 4. นำแนวทางที่เลือกไว้มาพิจารณาหาวิธีดำเนินการที่เป็นรูปธรรม และปฏิบัติได้จริง ประเมินแนวทางที่เหมาะสม
ขั้นตอนการปฏิบัติ QC Story Theme Achievement 5. ปฏิบัติตามแผน 6. ตรวจยืนยันผลลัพธ์ เทียบกับค่าเป้าหมาย 7. ทำมาตรการที่ได้ผลให้เป็นมาตรฐานเพื่อรักษาระดับให้ต่อเนื่อง • ทบทวนกิจกรรม แผนการในอนาคต • สรุปและเสนอผลงาน
คิวซีเทคนิคกับTheme Achieving - QC Story
Step 1 การกำหนดหัวข้อ • ค้นหาปัญหา/หัวข้อปัญหา • คัดเลือกปัญหา/หัวข้อปัญหา • ตัดสินใจเลือก QC Story • กำหนดหัวข้อ • ระบุความจำเป็นที่ต้องการจัดการกับหัวข้อนั้นอย่างเป็นรูปธรรม
ค้นหาปัญหา/หัวข้อปัญหาค้นหาปัญหา/หัวข้อปัญหา เสนอปัญหา หัวข้อปัญหาที่จะดำเนินการ ปัญหา หัวข้อที่ชัดเจน ปัญหา หัวข้อที่แฝงอยู่ ปัญหา หัวข้อที่จะเกิดขึ้นในอนาคต แผ่นตรวจสอบ • หัวข้อรอบ ๆ ตัว เช่น สิ่งที่ไม่สะดวกต่าง ๆ • นโยบายของผู้บังคับบัญชา หรือหัวข้อในงาน • หัวข้อจากความต้องการของกระบวนการถัดไป • สิ่งที่เหลือค้าง จากกิจกรรมที่ผ่านมา • สภาพที่ควรเป็นในอนาคต ปัญหา/หัวข้อที่จะเกิดขึ้น • การทำลายระดับปัจจุบัน
การเลือกหัวข้อ หัวข้อในการประเมินจุดปัญหา จัดเรียง ปัญหา / หัวข้อ ใช้แผนภูมิระบบ ความจำเป็น ต้องปรับปรุง กิจกรรม กลุ่ม นโยบาย ผู้บังคับบัญชา ใช้แรงพยายาม บรรลุผลได้ ผลส่งเสริมงาน ความสอดคล้อง ความเร่งด่วน ระดับความไม่ดี ประสิทธิผล ผลในอนาคต ทุกคนร่วมได้ ความพอใจ ปัญหารอบตัว นโยบาย/หัวข้อ ของผู้บังคับบัญชา เคลมจากกระบวนการถัดไป หัวข้อในสถานที่ทำงาน ปัญหาที่เหลือค้างอยู่ สภาพที่ควรเป็นในอนาคต ทำลายสภาพปัจจุบัน
ตารางคัดเลือกปัญหา/หัวข้อปัญหาตารางคัดเลือกปัญหา/หัวข้อปัญหา น้ำหนัก การให้น้ำหนัก 1-3, 1-5, 1-10 ระดับการให้คะแนน 1-3, 1-5
การใช้เกณฑ์ในการคัดเลือกการใช้เกณฑ์ในการคัดเลือก • ไม่ควรใส่เกณฑ์ “ความสามารถปฏิบัติได้จริง” จะทำให้มีแนวโน้มเลือกทำในสิ่งที่ง่ายๆเท่านั้น • Theme Achievement เป็นสิ่งที่จงใจสร้างขึ้นและเป็นเชิงกลยุทธ์มากกว่า Problem Solving
เลือก Story ที่เหมาะสม • กำหนด QC Story ที่จะใช้ ผังตรวจเช็คขั้นตอน คะแนนที่ประเมิน : มาก =2 , ปานกลาง = 1, น้อย = 0
ลักษณะที่ประยุกต์ใช้ขั้นตอน Theme Achievement
ข้อควรระวัง • หน้าที่งานใหม่ กับ การทำลายสภาพปัจจุบัน กรณีวัตถุประสงค์ของงานยังคงเดิม เพียงแค่เปลี่ยนวิธีการทำงาน เท่านั้น ไม่เรียกหน้าที่งานใหม่ ควรจัดเป็น ทำลายสภาพปัจจุบัน • คุณภาพที่ประทับใจ กับ การทำลายสภาพปัจุบัน การปรับปรุงงานของตนให้สบายกว่าเดิมมาก เป็นการทำลายสภาพปัจจุบัน การปรับปรุงให้งานของลูกค้า หรือของกระบวนการถัดไปสบายกว่าเดิมมาก เป็นคุณภาพที่ประทับใจ
การกำหนดหัวข้อ(Theme)/ระบุความจำเป็นการกำหนดหัวข้อ(Theme)/ระบุความจำเป็น • แสดงหัวข้ออย่างเป็นรูปธรรม ไม่ควรเป็นนามธรรมจนเกินไป ต้องสื่อสารให้เข้าใจถึงความต้องการที่อยากจะแก้ไข ตัวอย่าง “ยกระดับความพึงพอใจของลูกค้าในผลิตภัณฑ์ A อย่างสูงมาก” กรณีมีรายละเอียดมากไม่สามารถใส่เป็นชื่อเดียวได้ทั้งหมดให้ตั้งชื่อ Sub Themeเสริมเข้าไป • ไม่ควรใส่มาตรการหรือวิธีการลงไปในหัวข้อ ตัวอย่าง “นำผลิตภัณฑ์ใหม่เข้าตลาดเพื่อเพิ่มยอดขายอย่างสูง”
ตัวอย่างการตั้งชื่อเรื่องที่ดีตัวอย่างการตั้งชื่อเรื่องที่ดี • การพัฒนาระบบการพิมพ์แบบใหม่เพื่อตอบสนองความรวดเร็ว • เพิ่มยอดขายสินค้าเครื่องครัวอีกเท่าตัว • เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน oo อีก 40 %
ตัวอย่างการตั้งชื่อเรื่องที่ไม่ดีตัวอย่างการตั้งชื่อเรื่องที่ไม่ดี • การรวบรวมผลข้อมูลการบริการอย่างย่อด้วยคอมพิวเตอร์ “ หัวข้อแบบนี้เป็นการกำหนดแนวทางเรียบร้อยแล้ว” • รูปแบบการประชุมวางแผน “ หัวข้อนี้ไม่ชัดเจนว่าจะทำอะไร หรือต้องการอะไร”
การกำหนดหัวข้อ(Theme)/ระบุความจำเป็นการกำหนดหัวข้อ(Theme)/ระบุความจำเป็น • ให้ระบุความจำเป็นให้ชัดเจน เป็นรูปธรรม บนพื้นฐานข้อเท็จจริงและข้อมูล - ความจำเป็นเมื่อดูจากสภาพ / ระดับของเกณฑ์ในปัจจุบัน - ข้อเรียกร้องความต้องการของลูกค้าและผู้เกี่ยวข้อง - ความจำเป็นเมื่อเปรียบเทียบกับบริษัทคู่แข่ง หรือแนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงในอนาคต - ความจำเป็นเมื่อดูจากสภาพ / ระดับของเกณฑ์ที่ต้องการเป็น หรือจากสภาพ ไม่ต้องการเป็น / ความสูญเสีย • ให้สมาชิก ผู้บังคับบัญชา และผู้เกี่ยวข้อง คิดร่วมกัน เพื่อให้เกิดการตัดสินใจ อย่างมีเอกภาพ
การระบุความจำเป็น • ไม่ว่าจะเป็นหัวข้อที่รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชา หรือหัวข้อที่กลุ่มเลือกเอง จำเป็นต้องทราบข้อมูลที่ชัดเจนเกี่ยวกับที่มาและความสำคัญ - ถ้าเป็น Problem Solvingเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว เห็นพ้อง ต้องกันง่าย - Theme Achievementเป็นปัญหาที่ซ่อนเร้น ควรระบุ จุดมุ่งหมายหรือสิ่งที่ต้องการ
แผนกิจกรรม (1) • พิจารณากำหนดการกิจกรรม • วางแผนระยะเวลาสิ้นสุดของแต่ละขั้นตอน • จะทำอะไร ทำแค่ไหน ทำถึงเมื่อใด ให้ระบุให้ชัดเจน • ในกำหนดการให้เขียนขั้นตอนที่จะทำเพื่อใช้ในการควบคุม • ถ้ารู้ล่วงหน้าว่าจะมีช่วงที่งานยุ่ง ให้พิจารณา กำหนดการ กิจกรรมให้เหมาะสม • เมื่อแผนต่างจากที่ปฏิบัติจริง ให้ดำเนินมาตรการแก้ไข
แผนกิจกรรม (2) • กำหนดบทบาทในกิจกรรมแต่ละขั้นตอน โดยคำนึงถึงความสามารถและสาขาที่ถนัดของสมาชิกแต่ละคน • จัดระบบให้ทุกคนได้มีบทบาทเข้าร่วมบริหารกิจกรรม ตามขั้นตอนของ QC Story ใช้หลัก Step Leader • กำหนดแบ่งบทบาทหน้าที่
แผนกิจกรรม (3) แผน ปฏิบัติจริง
Step 2 การกำหนดจุดรุกและกำหนดเป้าหมาย • ตรวจสอบระดับปัจจุบัน และระดับที่ต้องการ • พิจารณาหาจุดรุกตัวเลือกเพื่อใช้กำหนดทิศทางสำหรับไล่เลียงแนวทางเลือก • ประเมินจุดรุกตัวเลือก • กำหนดเป้าหมายที่เป็นรูปธรรม ตรวจสอบเป้าหมายที่ต้องการ ระบุที่มาของเป้าหมาย
ตรวจสอบระดับปัจจุบันและระดับที่ต้องการตรวจสอบระดับปัจจุบันและระดับที่ต้องการ • รวบรวมความจริง / ข้อมูล ระดับปัจจุบัน • ระบุลักษณะจำเพาะที่สะท้อนหัวข้อเรื่อง • ตรวจสอบสภาพแวดล้อมบริษัท และสถานที่ทำงานด้วย • พิจารณาเงื่อนไขข้อจำกัดให้ชัดเจน (ทรัพยากร, ข่าวสาร, เวลา) • รวบรวมดูระดับที่ต้องการ • ตรวจสอบระดับที่ต้องการ เทียบกับ • นโยบายของผู้บังคับบัญชา • กระบวนการถัดไป ลูกค้าที่ทำให้ประทับใจ • สภาพในอนาคต และสภาพปัจจุบัน ของบริษัทอื่น ๆ ที่ทำ อุตสาหกรรมเดียวกัน • พัฒนาเงื่อนไขข้อจำกัดจากมุมมองของระดับที่ต้องการด้วย ( จุดรุก)
ลักษณะจำเพาะ(Characteristics) • ลักษณะจำเพาะที่สะท้อนภาพรวมทั้งหมด ได้แก่ ระดับความพึงพอใจ ยอดขาย ข้อร้องเรียน ของเสีย • ค่าลักษณะจำเพาะ หมายถึง ค่าที่แสดงถึงขนาดของลักษณะจำเพาะ ซึ่งจำเป็นต้องระบุหน่วย สูตรคำนวณให้ชัดเจน
การหาจุดรุก • กำหนดลักษณะจำเพาะที่สะท้อนหัวข้อเรื่องโดยรวมให้ชัดเจน วัดหาระดับที่ต้องการและระดับปัจจุบันของค่าลักษณะจำเพาะที่ต้องบรรลุ • กำหนดหัวข้อที่จะทำการสำรวจ หมายถึง สิ่งที่ได้จำแนกแจกแจงองค์ประกอบของหัวข้อเรื่อง • 4M ( Man Machine Material Method ) • Measurement Morale Management • Environment Time • ทักษะ ระบบ กลยุทธ์ นโยบาย โครงสร้างองค์กร วัฒนธรรม
กำหนดหัวข้อที่จะทำการสำรวจกำหนดหัวข้อที่จะทำการสำรวจ • หัวข้อปัญหาที่ถูกเรียกร้องจากภายนอกให้เลือกข้อกำหนดนั้นมาเป็นหัวข้อสำรวจ • หัวข้อปัญหาที่สร้างสรรค์ขึ้นมาเอง ให้เลือกหัวข้อที่มุ่งความคิดเข้าไป มาเป็นหัวข้อสำรวจ
แผ่นค้นหาจุดรุก หัวข้อประเมินสำหรับคัดจุดรุก ระบุสิ่งที่ต้องการ (เช่น สมรรถนะ ระดับ หรือรูปลักษณะที่ต้องการเป็น) ให้ชัดเจน โดยดูจากความต้องการของผู้บังคับบัญชา กระบวนการก่อนหน้า ถัดไปหรือการเปรียบเทียบกับคู่แข่ง เป็นต้น วัดระดับปัจจุบันเทียบกับระดับที่ต้องการ (แต่สำหรับหน้าที่งานใหม่อาจจะยังวัดออกมาไม่ได้) ค่าความต่างระหว่างระดับที่ต้องการกับระดับปัจจุบัน ขอบเขต อาณาเขตของการพิจารณาแนวทางเลือก (ยังไม่ใช่แนวทางที่เลือกแล้ว) อยู่ในรูปประโยคที่ไม่กว้างหรือแคบเกินไป
จุดรุกคืออะไร • จุดรุกเป็นตัวกำหนดทิศทางในการเสนอแนวทางเลือก • จุดรุกต้องไม่ใช่จุดเล็กๆ ถ้าจับแต่จุดรุกเล็กๆจะไม่สามารถเสนอแนวทางเลือกออกมาจำนวนมากๆได้ • ในแผนผังต้นไม้ต้องอยู่ในระดับ 1 ซึ่งจะกระจายย่อยลงไปเป็นระดับ 2 และระดับ 3 ต่อไป
ช่องว่าง: ค่าความต่าง (Gap)ระหว่างระดับที่ต้องการกับระดับปัจจุบัน • ควรวัดหาช่องว่างออกมาเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ • แต่บางหัวข้อ อาจทำได้เพียงถ่ายทอดออกมาเป็นข้อมูลเชิงภาษา ให้พยายามจับข้อเท็จจริงออกมาเป็นรูปธรรม
เกณฑ์การประเมินจุดรุกเกณฑ์การประเมินจุดรุก • ความเป็นไปได้ในการลดช่องว่าง • ความสามารถของหน่วยงาน (จัดการด้วยตนเองได้หรือไม่) • ความต้องการของลูกค้า(กระบวนการก่อนหน้า และถัดไป)
ตัวอย่างแผ่นค้นหาจุดรุกตัวอย่างแผ่นค้นหาจุดรุก คะแนน = 3 คะแนน = 2 คะแนน = 1 คะแนน
ตัวอย่างแผ่นค้นหาจุดรุกตัวอย่างแผ่นค้นหาจุดรุก คะแนน = 3 คะแนน = 2 คะแนน = 1 คะแนน
กำหนดเป้าหมาย • รวบรวมดูช่องว่าง • (ความแตกต่างระหว่างระดับปัจจุบัน และที่ต้องการ) • กำหนดเป้าหมาย โดยมีองค์ประกอบ 3 ประการ • ทำอะไร • ทำแค่ไหน • ทำถึงเมื่อใด
ตัวอย่าง - การกำหนดเป้าหมาย • ทำอะไร ลดเวลาการเดินเครื่องจักรประเภทใช้คนควบคุม ช่วงกะเช้า • เท่าไร จาก 60 นาฑีต่อวัน ลงเหลือ “ศูนย์” • ถึงเมื่อใด ภายใน 3 เดือน ตั้งแต่ 1 กค.-กย. 25xx
Step 3 เสนอแนวทาง • ระดมสมองเสนอแนวทางดำเนินการแต่ละจุดรุก • ประเมินแนวทางต่างๆ • เลือกวิธีดำเนินการ
ระดมสมอง เสนอแผนแนวทางดำเนินการ เสนอแนวทางต่าง ๆ เพื่ออุดช่องว่างระดับปัจจุบันกับเป้าหมาย • ใช้ความรู้ของทุกคนเสนอข้อคิดเห็นต่าง ๆ • ใช้แผนภูมิเหตุและผลเพื่อกระจายแนวทาง • ใช้แผนภาพระบบในการจัดเรียง เพื่อแสวงหาแนวคิดที่เหมาะสม • พิจารณาดูหน่วยงานอื่น บริษัทอื่นเพื่ออ้างอิง (Best Practice)
ประเมินข้อเสนอแนวทาง ประเมินแนวทางต่าง ๆ ให้มองกว้าง ๆ ก่อน • พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างแนวทางที่เสนอกับเป้าหมาย • ให้ความสำคัญกับสิ่งที่จะมีประสิทธิผลก่อน • ยังไม่ต้องสนใจว่าจะเป็นไปได้จริงหรือไม่ (ถ้ามองความเป็นไปได้หรือไม่ก่อน อาจได้แนวทางพื้น ๆ เท่านั้น) • พิจารณา คุณภาพ ค่าใช้จ่าย เวลา (QCD) • พิจารณาความสัมพันธ์กับเงื่อนไขข้อจำกัดด้วย • เรียงลำดับแนวทางที่มีประสิทธิผลสูงมาหาต่ำ
การเสนอแนวทาง - แผนผังระบบ คะแนนประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน จุดรุก 1 Theme จุดรุก 2
ตัวอย่าง การเสนอแนวทาง - แผนผังระบบ คะแนนประเมิน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน ปรับฟิลเตอร์ ให้เหมาะสม กับเครื่อง ทดสอบ s ลดค่า ใช้จ่าย บำรุง รักษา แหล่ง จ่าย แรงดัน ไฮดรอ ลิก ระบุสมรรถนะ และ คุณภาพของ เครื่องทดสอบ s เปรียบเทียบสเปคเครื่องจักร ให้ผู้ผลิตเครื่องเข้ามาสำรวจ ยกระดับการใช้ร่วมของ เครื่องบริษัท YB ปรับขนาดของอนุภาคที่กรองได้ ให้เหมาะสม ใช้ฟิลเตอร์ ราคาถูก ตรวจสอบ คุณภาพ ที่ต้องการ ใช้ฟิลเตอร์ได้กับทุกเครื่อง สอดคล้องกับสมรรถนะที่ต้องการ ทำให้ใช้ได้กับเครื่องบริษัท T และ P ด้วย
Step 4ค้นหาแนวทางที่นำไปสู่ความสำเร็จ • พิจารณาวิธีดำเนินการตามแนวทางอย่างเป็นรูปธรรม • วางแผนปฏิบัติ
เลือกแนวทางที่เหมาะสมที่สุดเลือกแนวทางที่เหมาะสมที่สุด ทำเป็นมาตรการดำเนินการ พิจารณาวิธีดำเนินการที่เป็นไปได้ จากแนวทางที่น่าจะเหมาะสมที่สุด • พิจารณาเรียงลำดับจากประสิทธิผลสูงสุดที่คาดหวังได้ก่อน • พิจารณาแนวทางที่เป็นรูปธรรม • เลือกแนวทางที่ง่าย ๆ ไว้ด้วย กรณีมีผลเลวร้ายที่จะเกิดขึ้นให้พิจารณามาตรการแก้ไขล่วงหน้า แนวทางที่มีผลมาก ให้พิจารณาดำเนินการหรือทดลองทำดู จำลองสถานการณ์ และตรวจสอบความเป็นไปได้ในการบรรลุเป้าหมาย ในการดำเนินการ ถ้ามีอุปสรรคขัดขวางให้มองแนวทางการปรับปรุงไว้ด้วย
กำหนดแผนในการดำเนินการกำหนดแผนในการดำเนินการ แผนดำเนินการตามแนวทางใช้หลัก 5 w 1 H • กำหนดเนื้อหาย่อ ๆ ของแนวทาง ทำเป็นหัวข้อ ตามลำดับเวลาเพื่อควบคุมความก้าวหน้า • ให้พิจารณาการเชื่อมโยงกับหัวข้ออื่น ๆ อย่าลืมให้ผู้บังคับบัญชาได้รับทราบ ขณะจะดำเนินการ • ติดต่อกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ทราบ รายละเอียดดำเนินการล่วงหน้า
ตัวอย่างตารางขจัดอุปสรรคมาตรการใช้เซ็นเซอร์วัดส่วนผสมตัวอย่างตารางขจัดอุปสรรคมาตรการใช้เซ็นเซอร์วัดส่วนผสม ตัดสินใจ ใช้มาตรการ
ตัวอย่างตารางขจัดอุปสรรคมาตรการทำให้เป็นโครงสร้างสไลด์ที่ลาดเอียงตัวอย่างตารางขจัดอุปสรรคมาตรการทำให้เป็นโครงสร้างสไลด์ที่ลาดเอียง ตัดสินใจ ใช้มาตรการ
ตารางขจัดอุปสรรค อุป สรรค ผล กระ ทบ
Step 5ปฏิบัติแนวทางที่นำไปสู่ความสำเร็จ • จัดทำแผนปฏิบัติ • ปฏิบัติตามแผน
ดำเนินการตามแนวทางที่เหมาะสมดำเนินการตามแนวทางที่เหมาะสม ดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้อย่างเคร่งรัด ติดต่อขอคำแนะนำจากผู้บังคับบัญชา และสต๊าฟในการดำเนินการ พิจารณาทบทวนแผนตามช่วงเวลา ดูความก้าวหน้าของการดำเนินการตามแนวทางที่กำหนด • วัดผลและจุดปัญหาของแต่ละแนวทาง ถ้าสิ่งที่ปฏิบัติจริงแตกต่างจากแผนให้ทำการแก้ไข
ARROW DIAGRAM 4 5 2 1 1 2 3 6 11 12 4 3 2 2 1 วัน 8 2 9 10 2 7 1