270 likes | 419 Views
ผล การดำเนินงานป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ เอช ไอ วีจาก แม่สู่ลูก และการดูแลหญิงหลังคลอดและ ครอบครัวที่ ติดเชื้อ เอช ไอวี ปี 2550-2555 ศูนย์ อนามัยที่ 3. รัตนา เพชรพรรณ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ โทร. 081-5232698 E-mail: petcharapun@yahoo.com. แนะนำศูนย์อนามัย. Regional Health
E N D
ผลการดำเนินงานป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก และการดูแลหญิงหลังคลอดและครอบครัวที่ติดเชื้อเอชไอวี ปี 2550-2555 ศูนย์อนามัยที่ 3 รัตนา เพชรพรรณ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ โทร. 081-5232698 E-mail: petcharapun@yahoo.com
แนะนำศูนย์อนามัย Regional Health Promotion Center 1 – 12
ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก*** 2. ลดปัจจัยเสี่ยงวัยเรียนวัยรุ่น 3. แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย 4. ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 5. พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม 6. ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ 7. ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
เป้าหมายของแผนเอดส์ชาติปี พศ. 2555 – 25593-zeros • ไม่มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ = ไม่มีเด็กติดเชื้อจากแม่ในระหว่างตั้งครรภ์-คลอด-หลังคลอด = ไม่มีการติดเชื้อระหว่างคู่สามี - ภรรยา • ไม่มีผู้เสียชีวิตจากเอชไอวี/เอดส์ = แม่, เด็ก, พ่อ ที่ติดเชื้อได้รับการส่งต่อเพื่อดูแลรักษาเรื่อง เอชไอวี โดยเร็วที่สุด • ไม่มีการรังเกียจ ตีตรา = ไม่มีอุปสรรคในการเข้ารับบริการของผู้ติดเชื้อฯ จากทัศคติรังเกียจ ตีตราโดยผู้ให้บริการ
อัตราการติดเชื้อเอชไอวี ในหญิงตั้งครรภ์ของจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบศูนย์อนามัยที่ 3จำแนกรายปี 2539 – 2555 % แหล่งข้อมูล : สำนักงานสาธารณสุข /โปรแกรม PHIMS ตั้งแต่ปี 47 รวมนครนายก สมุทรปราการ
จำนวนและอัตราหญิงหลังคลอด /หญิงติดเชื้อเอชไอวี ที่ได้รับยาต้านไวรัสในการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี จากแม่สู่ลูก ภาพรวม 9 จังหวัด ในพื้นที่รับผิดชอบ ของศูนย์อนามัยที่ 3 ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2550 - 2555 แหล่งข้อมูล : สำนักงานสาธารณสุข /โปรแกรม PHIMS
จำนวนและอัตราเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี อายุ 18-24 เดือนทั้งหมด ได้รับการตรวจหาเชื้อเอชไอวี และมีผลเลือดบวก ภาพรวม 9 จังหวัด ในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์อนามัยที่ 3 ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2550 - 2554 แหล่งข้อมูล : รายงานสรุปการติดตามสุขภาพเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอช ไอ วี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ผลการดำเนินงานเอดส์ในแม่และเด็กจำแนกเป็นรายจังหวัดปีงบประมาณ 2554 แหล่งข้อมูล : สำนักงานสาธารณสุข /โปรแกรม PHIMS/รายงานสรุปการติดตามสุขภาพเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี
ผลการดำเนินงานฝากครรภ์แบบคู่ของ 9 จังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์อนามัยที่ 3 ปี 2554 (ตุลาคม 2553 - สิงหาคม 2554)
โครงการปรับภารกิจการจัดการปัญหาเอดส์ โดยบูรณาการการจัดบริการเชิงรุกและเครือข่ายการทำงาน ให้เข้าสู่กระบวนการกระจายอำนาจในจังหวัดให้ ครอบคลุมถ้วนทั่วกลุ่มเป้าหมาย และส่งผลอย่างยั่งยืน Aligning Care and Comprehensive HIV-Prevention Among Youth, MARPs, Children infected and affected by HIV/AIDS and other vulnerable children by Promoting Integrated Outreach and Networking with Government Decentralization to Achieve Coverage and Impact: ACHIEVED
วัตถุประสงค์ • วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อจัดบริการด้านเอชไอวีที่ครบถ้วนและมีประสิทธิผลแก่เยาวชน พนักงานบริการ ชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย(รวมผู้ที่แปลงเพศ) ผู้ต้องขัง ผู้ใช้สารเสพติด แรงงานข้ามชาติ และเด็กที่ได้รับ ผลกระทบจากเอดส์ และนำไปสู่การขยายผล และทำให้เกิดความยั่งยืน
โครงการพัฒนาระบบการดูแลด้านสุขภาพ และปกป้องทางสังคมสำหรับเด็กที่ได้รับ ผลกระทบจากเอดส์ และเด็กที่อยู่ในภาวะ เปราะบางในพื้นที่ ที่มีสถานการณ์ปัญหาเอดส์สูง Comprehensive HIV/AIDS Care, Support and Social Protection for Affected and Vulnerable Children living in High Prevalence Area to Achieve Full Potential in Health and Development (CHILDLIFE)
ความเป็นมาและสถานการณ์ความเป็นมาและสถานการณ์ - มีเด็กกำพร้าเนื่องจากเอดส์ 301,865 คน(35.4%ของกำพร้าจากสาเหตุอื่น) เด็กติดเชื้อ 26,975 คน เด็กที่ไม่ติดเชื้อเกิดจากแม่ติดเชื้อ 321,832 คน - เด็กกลุ่มชาติพันธุ์ที่รอพิสูจน์สัญชาติ ยังไม่ได้รับสิทธิ์ขั้นพื้นฐานที่จำเป็น เช่น การรักษาพยาบาลยาต้านไวรัส - เด็กที่อยู่ในภาวะเสี่ยงจำนวนมากยังเข้าไม่ถึงบริการด้านการป้องกัน และการดูแล จากชุมชน - เด็กกำพร้า เด็กติดเชื้อ และเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ถูกส่งไปอยู่ที่สถานสงเคราะห์ของรัฐและเอกชนจำนวนมาก และขาดมาตรฐานการดูแล - เด็กติดเชื้อไม่ได้รับการติดตามดูแลส่งเสริมพัฒนาการต่อเนื่องตั้งแต่หลังคลอด - บริการดูแลรักษา จิตใจ และสังคมสำหรับเด็กวัยรุ่นที่ติดเชื้อยังไม่สอดคล้องกับความต้องการของเด็ก - การรังเกียจ และเลือกปฏิบัติต่อเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ยังคงพบทั่วไป และส่งผลกระทบต่อการเข้าถึงบริการและสวัสดิการของรัฐ - โครงการกองทุนโลกรอบอื่น ๆ ไม่ได้เน้นกลุ่มเป้าหมายเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ แต่เน้นการป้องกันเฉพาะในกลุ่มที่มีภาวะเสี่ยงสูงอายุ 12-24 ปี
วัตถุประสงค์ • การเสริมความเข้มแข็งและประสานการทำงานเชื่อมโยงระบบสุขภาพ การมีส่วนร่วมของชุมชน การปกป้องทางสังคม เพื่อพัฒนาบริการให้มีคุณภาพโดยคำนึงถึงประเด็นความอ่อนไหวในเด็ก • การเข้าถึงการรักษาและบริการทางสังคมที่เท่าเทียมของเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอชไอวี/เอดส์ เด็กที่อยู่ในภาวะยากลำบากและเด็กอื่นที่ไม่ได้รับการดูแลจากสังคม • เพื่อปรับปรุงและเพิ่มการยอมรับทางสังคมที่มีต่อเด็กและผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเอชไอวี/เอดส์ รวมทั้งคนที่ถูกรังเกียจหรือไม่ได้รับการยอมรับเนื่องจากสาเหตุอื่นๆ • ส่งเสริมศักยภาพระดับประเทศ จังหวัด อำเภอ ตำบล รวมทั้งชุมชนให้มีกลยุทธ์ด้านระบบข้อมูลเพื่อนำไปสู่การพัฒนาบริการให้กับเด็ก
กรอบแนวคิดโครงการ พัฒนาระบบปกป้องคุ้มครอง ทางสังคม, พัฒนานโยบาย พัฒนาระบบสุขภาพ เด็กที่ได้รับผลกระทบ เด็กที่อยู่ในภาวะเสี่ยง คณะทำงานเด็กในชุมชน -CAG พัฒนาระบบชุมชน
เป้าหมาย เด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ (CABA) และเด็กที่อยู่ในสภาวะเสี่ยงอื่นๆในชุมชนที่มีสถานการณ์เอดส์สูง ได้การรับส่งเสริมพัฒนาการและคุณภาพชีวิต รวมทั้งได้รับการยอมรับในสังคมในมาตรฐานเดียวกับเด็กทั่วไป
กลุ่มเป้าหมาย เด็ก: อายุต่ำกว่า 18 ปี 1) เด็ก ที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ • เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี(จากทุกความเสี่ยง-แรกเกิด-พฤติกรรมเสี่ยง) • เด็กที่ไม่ติดเชื้อเอชไอวี แต่มีพ่อ/แม่/ติดเชื้อเอชไอวี หรืออาศัยอยู่กับผู้ติดเชื้อเอชไอวีหรือผู้มีโอกาสเสี่ยงสูงในการติดเชื้อฯ • เด็กที่อยู่ในสภาวะเสี่ยงโดยสาเหตุอื่น เด็กสภาวะเสี่ยง/ยากลำบากตาม 5 เกณฑ์ พม.: ยากจน เร่ร่อน ไม่มีสถานะบุคคล สิ้นสุดหรือยังอยู่ในกระบวนการยุติธรรม เด็กในครอบครัวผู้ติดเชื้อ • เด็กชาติพันธุ์ที่ไม่ได้สัญชาติไทยและเข้าไม่ถึงบริการพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับเด็ก
แนวทางการดำเนินงาน 1. สร้างความเข้มแข็งและประสานการทำงานของระบบบริการสุขภาพ ระบบชุมชน และการปกป้องทางสังคม เพื่อการให้บริการที่มีคุณภาพ 2. พัฒนาการเข้าถึงบริการหลักที่จำเป็น สุขภาพ: แม่ตั้งครรภ์มีเชื้อได้รับการดูแลติดตามต่อเนื่อง ผู้ชายมีส่วนร่วมในการดูแล เด็กที่คลอดจากแม่มีเชื้อ ได้รับการวินิจฉัยเอชไอวีแต่เนิ่นๆ และติดตามส่งเสริมพัฒนาการ จัดบริการด้านจิตสังคมในระบบสุขภาพ สนับสนุนกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนในวัยรุ่นติดเชื้อ ชุมชน: สนับสนุนให้ผู้ดูแลมีศักยภาพในการดูแลเด็ก ได้รับการติดตามต่อเนื่อง ประสานส่งต่อ มีกิจกรรมเสริมพัฒนาการเด็ก เสริมสร้างคุณค่าในตนเอง มีกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนในชุมชน การคุ้มครองทางสังคม: ส่งเสริมสวัสดิการ-เศรษฐกิจในครอบครัว ส่งเสริมการปกป้องคุ้มครองเด็กตาม พรบ.คุ้มครองเด็ก
แนวทางการดำเนินงาน 3. เพิ่มการยอมรับอยู่ร่วมในสังคมและคุ้มครองสิทธิเด็ก - ทั้งในระดับบุคคล ชุมชน สังคม ให้การศึกษาชุมชน และ จัดรณรงค์สาธารณะ ดำเนินงานผ่านกลุ่ม/เครือข่ายผู้ติดเชื้อ - เด็กได้รับการปกป้องคุ้มครองและสวัสดิการตามสิทธิ - หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวี ได้รับบริการการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวีในทารก การมีส่วนร่วมของชาย และได้รับการตรวจเลือดด้วยความสมัครใจและเป็น ความลับ - เด็กติดเชื้อเอชไอวีเติบโตได้เหมือนเด็กทั่วไป เอดส์รู้เร็วรักษาได้ - เด็กควรได้เรียนรู้เรื่องเอดส์และเพศ เพื่อการป้องกันและอยู่ร่วมกัน 4. พัฒนาระบบข้อมูลระดับตำบล อำเภอ จังหวัด ภาค ประเทศ เพื่อการติดตามประเมินผล
พื้นที่ดำเนินงาน นำร่องใน 29 จังหวัด : ประเมินจากอัตราการติดเชื้อของ หญิงตั้งครรภ์, แม่มีเชื้อ, เด็กติดเชื้อที่รับยา • กรุงเทพฯ • 6 จังหวัด ภาคเหนือ : เชียงราย เชียงใหม่ พะเยา ลำปาง เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ • 8 จังหวัด ภาคอีสาน : นครราชสีมา สุรินทร์ ชัยภูมิ บุรีรัมย์ ขอนแก่น อุดร อุบล ร้อยเอ็ด • 9 จังหวัด ภาคกลาง : ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ราชบุรี นครปฐม สุพรรณบุรี เพชรบุรี ลพบุรี นนทบุรี • 5 จังหวัด ภาคใต้: สงขลา สุราษฎร์ นครศรีฯ ตรัง ชุมพร
พื้นที่ดำเนินงาน นำร่องใน 3 จังหวัด :ภาคตะวันออก : ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ชลบุรี อำเภอเมือง : ทต.ดอนหัวฬ่อ อบต.คลองตำรุ ทต.คลองตำรุ ทม.บ้านสวน ทต.นาป่า ทต.หนองไม้แดง ทม.แสนสุข ทต.บางทราย อำเภอพานทอง : อบต.หนองหงษ์อบต.พานทอง ทต.พานทอง อบต.มาบโป่ง อบต.หนองตำลึง อบต.บ้านเก่า ระยอง อำเภอเมือง : ต.ปากน้ำ เพ เนินพระ เชิงเนิน ตะพง อำเภอบ้านค่าย : ต.ซากบก ตาขัน อำเภอแกลง : ต.ปากน้ำประแสร์ จันทบุรี อำเภอเมือง : ต.ท่าช้าง บางกะจะ อำเภอท่าใหม่ : ต.ท่าใหม่ ยายร้า เขาวัว บ่อพลู สีพยา อำเภอขลุง : ต.ขลุง ซึ้ง บ่อ เกวียนหัก
กิจกรรมของศูนย์อนามัยที่ 3 - การนิเทศติดตามหน่วยงานรับผิดชอบและเกี่ยวข้องในจังหวัด - ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่สถานเลี้ยงเด็กกำพร้าและสถานดูแลเด็กในช่วงกลางวัน ในการใช้เครื่องมือประเมินตนเองเพื่อประเมินมาตรฐานการดูแลเด็กในสถาน เลี้ยงเด็กกำพร้าและสถานดูแลเด็กในช่วงกลางวัน - การจัดอบรมเจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุข อาสาสมัครชมรมฯ ได้รับการอบรม เรื่องการให้บริการดูแลสุขภาพเด็กในชุมชน - การอบรมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเรื่องการดูแลเด็กให้เหมาะสมกับแต่ละช่วงอายุ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ - การจัดอบรมบุคลากรทางสาธารณสุข (นักวิชาการสาธารณสุข พยาบาล เจ้าหน้าที่สาธารณสุข จาก รพศ. รพท.รพช. และ รพ.สต. ) เรื่อง การดูแลเด็กเป็นรายบุคคล (Case Management)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หน่วยงานบริหารโครงการหน่วยงานบริหารโครงการ PR-DDC กรมอนามัย (ระบบสุขภาพ) กระทรวง พม. (ระบบคุ้มครองทางสังคม) PATH (การพัฒนาด้านวิชาการระบบสุขภาพ) Pact (การติดตามและประเมินผล) PR-ACCESS รักษ์ไทย (การพัฒนาด้านวิชาการระบบชุมชน) เครือข่ายผู้ติดเชื้อฯ (การลดการตีตรา) PLAN (กทม.) ศุภนิมิต (ภาคกลาง) เอดส์เน็ท (ชม. ลป. เพชรบูรณ์ ชาติพันธุ์) รักษ์เด็ก (ชร. นว. พย.) สวท. (ภาคใต้) มอท. (ภาคอิสาน)
Children are the world’s most valuable resource and its best hope for the future John F. Kennedy THANK YOU