490 likes | 587 Views
Information & Knowledge Management. สาเหตุที่ทำให้เกิดสารสนเทศ. พัฒนาการของความรู้ สิ่งประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์ใหม่ พัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ พัฒนาการด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการพิมพ์ ความจำเป็นในการใช้สารสนเทศ. ลักษณะของสารสนเทศที่ดี. ถูกต้องแม่นยำ
E N D
สาเหตุที่ทำให้เกิดสารสนเทศสาเหตุที่ทำให้เกิดสารสนเทศ • พัฒนาการของความรู้ สิ่งประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์ใหม่ • พัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ • พัฒนาการด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร • ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการพิมพ์ • ความจำเป็นในการใช้สารสนเทศ
ลักษณะของสารสนเทศที่ดีลักษณะของสารสนเทศที่ดี • ถูกต้องแม่นยำ • สมบรูณ์ครบถ้วน ตรงตามความต้องการ • เข้าใจง่าย • ทันเวลา คุ้มค่า • เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ สะดวกในการเข้าถึง • ปลอดภัย
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ บุคคลากร Hardware Software ข้อมูล การสื่อสาร และเครือข่าย
ความสำคัญของระบบสารสนเทศความสำคัญของระบบสารสนเทศ • การท้าทายของเศรษฐกิจโลก • การแข่งขันทางการค้า • การขยายเครือข่ายทางการค้า • ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประโยชน์ของระบบสารสนเทศประโยชน์ของระบบสารสนเทศ • ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน • ช่วยสร้างทางเลือกในการแข่งขัน • ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ • ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิต
โครงสร้างข้อมูล • Bit • Byte • Field • Record • File
ปัญหาเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูลปัญหาเกี่ยวกับแฟ้มข้อมูล • ความซ้ำซ้อนของข้อมูล • ความผูกพันระหว่างข้อมูลและโปรแกรม • การไม่สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน • ขาดความคล่องตัว • ขาดระบบรักษาความปลอดภัย
ประโยชน์ของการจัดการฐานข้อมูลประโยชน์ของการจัดการฐานข้อมูล • ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล • มีความเป็นอิสระของข้อมูล • สนับสนุนการใช้ข้อมูลร่วมกัน • มีความคล่องตัวในการใช้ • มีระบบรักษาความปลอดภัย
องค์ประกอบของระบบฐานข้อมูลองค์ประกอบของระบบฐานข้อมูล • Data • Hardware • Software • Users
คลังข้อมูล • คือที่เก็บรวบรวมข้อมูลจากหลายแหล่ง และหลากหลายชนิดเข้าด้วยกันเป็นฐานข้อมูลขนาดใหญ่
ดาต้ามาร์ท • คือคลังข้อมูลที่มีขนาดเล็กกว่า ใช้เวลา และ มีค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บน้อยกว่า
ธุรกิจอัจฉริยะ • การใช้ข้อมูลขององค์การที่มีคุณค่ามาช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในการดำเนินงานของธุรกิจ • การสนับสนุนการตัดสินใจ • การคิวรี การรายงาน • การประมวลผลเชิงวิเคราะห์แบบออนไลน์ • การวิเคราะห์ทางสถิติ การพยากรณ์ • การทำดาต้าไมนิ่ง
ดาต้าไมนิ่ง • เป็นเครื่องมือและเทคนิคในการสกัดข้อมูลและประมวลผลข้อมูลในเชิงวิเคราะห์ขั้นสูงจากฐานข้อมูลขนาดใหญ่
วัตถุประสงค์ของการใช้เทคโนโลยีวัตถุประสงค์ของการใช้เทคโนโลยี • เพื่อการสื่อสารทางธุรกิจที่ดีขึ้น • เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน • เพื่อการกระจายข้อมูลที่ดีขึ้น • เพื่อการจัดการกระบวนการธุรกิจที่สะดวกขึ้น
องค์ประกอบของการสื่อสารองค์ประกอบของการสื่อสาร • ผู้ส่งข้อมูล • ผู้รับข้อมูล • ข้อมูล • สื่อนำข้อมูล • โปรโตคอล
ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีการสื่อสาร • E-mail • Fax • Voice Mail • Video conference • GPS • EFT • EDI • RFID
มาตรฐานเครือข่ายไร้สายมาตรฐานเครือข่ายไร้สาย • Bluetooth 802.15 • Wi-Fi 802.11 • Wi-Max 802.16
Most Common Types of E-Commerce Business-to-consumer (B2C) A person buys a book from Amazon.com Business-to-business (B2B) Retailer like Wal-Mart ordering from distributors Business-to-employee (B2E) Employee uses the Web to change employee benefits Consumer-to-consumer (C2C) One person purchases from another on eBay
Other Types of E-Commerce Government-to-citizen (G2C) A person filing income taxes online Government-to-business (G2B) Government purchases supplies using Internet-enabled procurement system Government-to-government (G2G) Foreign government accessing U.S. federal regulations
Information Dissemination Firms across the world have access to customers Economical medium for marketing products and services Increased geographical reach
Integration Integration of information via Web sites Real-time access to personalized information No time lag between company decisions and customers’ ability to access these
Example: Integration Alaska Airlines customers can access their mileage program any time Real-time link between company database and customer
Mass Customization Meeting particular customers’ needs on a large scale Dell.com
Interactive Communication Immediate feedback between company and customers E-mail notifications Customer service online chat Best Buy Geek Squad 24-hour computer support
Transaction Support Internet and the Web: Reduced transaction costs Enhanced operational efficiency Dell – automated transaction support Cost savings per sale
E-Commerce Business Strategies Differentiated based on levels of physical/virtual presence
กระบวนการทาง E-commerce • การค้นหาข้อมูล • การสั่งซื้อสินค้า • การชำระเงิน • การส่งมอบสินค้า • การให้บริการหลังการขาย
ผลกระทบของระบบสารสนเทศต่อองค์การผลกระทบของระบบสารสนเทศต่อองค์การ • มีความคล่องตัวในการดำเนินงาน • ลดขั้นตอนการทำงาน • เปลี่ยนแปลงกระบวนการจัดการ • กำหนดขอบเขตการดำเนินงานใหม่
ระดับของผู้ใช้สารสนเทศระดับของผู้ใช้สารสนเทศ • ผู้ปฎิบัติงาน TPS, office • ผู้บริหารระดับปฎิบัติการMIS • ผู้บริหารระดับกลาง DSS • ผู้บริหารระดับสูง
ประเภทของระบบสารสนเทศประเภทของระบบสารสนเทศ • TPS, office (Batch or real-time) • MIS • DSS ( OLAP, GIS) • ESS/EIS • AI, Expert System
ระดับของการตัดสินใจ • Strategic Decision Making • Tactical Decision Making • Operational Decision Making
ประเภทของการตัดสินใจ • การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง TPS, MIS • การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้างDSSESS • การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง DSSESS
ลักษณะของ ESS • ให้สารสนเทศที่มีประโยชน์ต่อการวางแผนเชิงกลยุทธ์ • ง่ายต่อการเรียนรู้และใช้งาน • เชื่อมโยงกับแหล่งข้อมูลภายนอก • สามารถประมวลผลในรูปแบบที่ไม่ได้กำหนดไว้ล่วงหน้า • พัฒนาเฉพาะสำหรับผู้บริหาร • มีระบบรักษาความปลอดภัย
AI ปัญญาประดิษฐ์ คือ การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ให้มีพฤติกรรมเลียนแบบมนุษย์ตั้งแต่การเห็น ฟัง เดิน พูด และรู้สึก รวมทั้งเลียนแบบความเป็นอัจฉริยะของมนุษย์ ช่วยงานประจำวันของมนุษย์
ระบบผู้เชี่ยวชาญ เป็นระบบที่ช่วยในการแก้ปัญหาหรือทำการตัดสินใจ โดยจะเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้มากกว่าสารสนเทศทั่วไป และจะถูกออกแบบให้ช่วยในการตัดสินใจโดยใช้วิธีการเดียวกับผู้เชี่ยวชาญที่เป็นมนุษย์
GIS คือระบบการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กำหนดข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ เหมาะกับข้อมูลสิ่งแวดล้อมมากกว่าระบบสารสนเทศประเภทอื่น บุคลากรต้องเชี่ยวชาญ ค่าใช้จ่ายสูง ใช้เวลา ความถูกต้องและความเชื่อถือได้ของข้อมูล
Open Sourcing Software and source code freely available to everyone Wikipedia a huge success
Outsourcing Outsourcing companies profited from the drop in telecommuni-cations costs Companies can now use talented engineers from anywhere
Challenges of Operating in the Digital World Globalization also created a set of unprecedented challenges: Governmental challenges Geoeconomical challenges Demographic challenges Cultural challenges
Governmental Challenges Political System Challenges Political stability Regulatory Challenges Tariffs Embargoes Export regulations Quotas
Demographic Challenges Differing rates of population growth
Cultural Challenges National Cultures Power Distance – differences in how societies handle the issues of human inequality Uncertainty Avoidance – risk taking nature Individualism/Collectivism – value placed on an individual vs. a group Masculinity/Femininity – degree to which a society is characterized as masculine/feminine Concept of Time – long term vs. short term Life Focus – quantity vs. quality of life
Cultural Challenges Cultural Barriers Language – communication language and norms Work Culture – work skills, habits and attitudes Aesthetics – art, music and culture Education – attitudes towards education and literacy Religion, Beliefs and Attitudes – spiritual institutions and values Social Organizations – family and social cohesiveness
Cultural Challenges Other Challenges Differences in what is regarded as appropriate Standards of dealing with intellectual property Different standards E.g., writing paper, pillowcases
ประเภทของความรู้ • ความรู้โดยนัย เช่น พรสวรรค์ ความรู้สึกนึกคิด ประสบการณ์ • ความรู้ชัดแจ้ง เช่น กฎเกณฑ์ สูตร นิยาม คู่มือต่างๆ
ความหมายของการจัดการความรู้ความหมายของการจัดการความรู้ การจัดการความรู้ เป็นกระบวนการรวบรวม จัดระบบ จัดหมวดหมู่ และเผยแพร่สารสนเทศทั่วทั้งองค์การ เพื่อให้ผู้ที่ต้องการสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์
รูปแบบการจัดการความรู้รูปแบบการจัดการความรู้ • เป็นการจัดการการเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรม • การสื่อสาร • กระบวนการและเครื่องมือ • การเรียนรู้ • การวัดผล • การยกย่องชมเชยและให้รางวัล
ปัจจัยที่สู่ความสำเร็จต่อการจัดการความรู้ปัจจัยที่สู่ความสำเร็จต่อการจัดการความรู้ • ได้รับสนับสนุนจากผู้บริหาร • ได้รับความร่วมมือจากบุคลากรทุกระดับ • มีเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่ชัดเจน • มีวัฒนธรรมในการแบ่งปันความรู้ในองค์การ • มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการความรู้