1 / 38

การยศาสตร์ ERGONOMICS

การยศาสตร์ ERGONOMICS. อ.ประจวบ กล่อมจิตร (ดัดแปลงจากเอกสารประกอบการบรรยายของ ศ.ดร.กิตติ อินทรานนท์). ความเป็นมา. สมาคมทางวิชาการ. ERGONOMICS. NOMOS วิชา ศาสตร์. ERGON งาน การย. +. สงครามโลกครั้งที่ 2. คำจำกัดความ. วิทยาการเกี่ยวกับชีวิต สังคมและจิตวิทยา คณิตศาสตร์

vaughan
Download Presentation

การยศาสตร์ ERGONOMICS

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การยศาสตร์ ERGONOMICS อ.ประจวบ กล่อมจิตร (ดัดแปลงจากเอกสารประกอบการบรรยายของ ศ.ดร.กิตติ อินทรานนท์)

  2. ความเป็นมา สมาคมทางวิชาการ ERGONOMICS NOMOS วิชา ศาสตร์ ERGON งาน การย + สงครามโลกครั้งที่ 2 คำจำกัดความ

  3. วิทยาการเกี่ยวกับชีวิต วิทยาการเกี่ยวกับชีวิต • สังคมและจิตวิทยา • คณิตศาสตร์ • วิศวกรรมศาสตร์ • เคมี • ระบาดวิทยา • ฟิสิกส์ การยศาสตร์เป็นสหวิทยาการ ต้องการความรู้ในเรื่อง

  4. ประสิทธิภาพ 1. ของร่างกาย 2. ของจิตใจ 3. ของผลผลิต ภาวะสบาย สวัสดิภาพ เป้าหมายของการยศาสตร์

  5. 1. ผลผลิตลดลง 2. ระยะเวลาทำการผลิตมากขึ้น 3. ค่ารักษาพยาบาลสูงขึ้น 4. ใช้วัตถุดิบสิ้นเปลืองมากขึ้น 5. อัตราการขาดงานมากขึ้น ความรู้เรื่องการยศาสตร์ สามารถช่วยแก้ปัญหาเหล่านี้ได้

  6. 6. คุณภาพของงานลดต่ำลง 7. พนักงานเมื่อยล้า บาดเจ็บ เจ็บป่วยมากขึ้น 8. โอกาสที่อุบัติเหตุจะเกิดมีมากขึ้น 9. อัตราการเข้า-ออกงานมากขึ้น 10. ศักยภาพในการทำงานฉุกเฉินลดลง ความรู้เรื่องการยศาสตร์ สามารถช่วยแก้ปัญหาเหล่านี้ได้

  7. ปรับปรุงคุณภาพชีวิต ลดการใช้เวลาโดยเปล่าประโยชน์ การยศาสตร์ ประโยชน์ที่จะได้รับ เพิ่มผลผลิต

  8. ภาระงาน ภาระสังคม ภาระสิ่งแวดล้อม ความสามารถที่จำกัด ผลลัพธ์ของงาน

  9. จุดคลาก ขีดจำกัดความยืดหยุ่น ความเค้น ปอนด์/ตร. นิ้ว ความเครียด นิ้ว/นิ้ว

  10. ความเค้น (สิ่งที่มากระทบ) ทางด้านกายภาพ Biomechanics :แรง, โมเมนต์, ท่าทาง สรีระ : งานหนัก ความร้อน ความเย็น ทางด้านจิตใจ การอดนอน ความหวาดกลัวอันตราย ข้อมูลข่าวสารมากเกินไป ความเบื่อหน่าย ปัญหาสังคม

  11. ความเครียด (การตอบสนอง) ทางด้านกายภาพ Biomechanics : EMG, ความแข็งแรง ทางสรีระ : อัตราการเต้นหัวใจ VO2 สารเคมีในกระแสเลือด อุณหภูมิร่างกาย อัตราการทำงาน EMG, CFF, การตอบสนอง ทางด้านจิตใจ ทัศนคติ ความผิดพลาด, CFF, การตอบสนอง แบบสอบถาม

  12. สรีรวิทยาในการทำงาน (Physiology) • การลำเลียง ออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ ไปยังเนื้อเยื่อของร่างกายโดยเลือด • หัวใจเป็นปั๊มในการไหลเวียน E(kcal/min) = 4.92 (FIO2- FEO2) * VE HRสูงสุด = 220 – อายุ

  13. ชีวกลศาสตร์ (Biomechanics)

  14. ระบบงาน สิ่งแวดล้อม ภาระงาน ภาระสังคม ภาระสภาพแวดล้อม ภาระด้านชีวกลศาสตร์ ตัวแปร แรง,โมเมนต์,ความดัน,EMG สร้างมาตรฐาน เปรียบเทียบ มาตรฐาน เครื่องจักร อุปกรณ์ คน ภาระด้านสรีรวิทยา ภาระด้านจิตวิทยา ตัวแปร HR , VO2 , BP , CFF ผู้เชี่ยวชาญด้าน จิตวิทยาสังคม ฐานข้อมูล ความสามารถ ของคน ตัวแปร Questionnaires,สัมภาษณ์ CFF ผู้เชี่ยวชาญด้าน สุขศาสตร์อุตสาหกรรม ผลลัพธ์ ผลงาน กระบวนการปรับปรุง แก้ใข Intervention Process อย่างใดอย่างหนึ่ง คน UNDER LOAD คน OVER LOAD บรรลุวัตถุประสงค์ ความล้า ระบบมีประสิทธิภาพ - ผลผลิต - ร่างกาย - จิตใจ ล้มละลาย อัตราอุบัติเหตุเพิ่ม อัตราเจ็บป่วยเพิ่ม อัตราเข้าออกงานเพิ่ม ผลผลิตลดลง คุณภาพงานลดลง ขาดทุน ผลกำไร สูงสุด

  15. งานซ้ำซาก งานเสี่ยงอันตราย งานยากซับซ้อน งานหนัก งานที่ต้องใช้เวลาทำนาน งานที่ต้องใช้ความคิด ภาระงาน

  16. ปัญหาครอบครัว ปัญหากับเพื่อนบ้าน ปัญหากับหน่วยราชการ ภาระสังคม ปัญหากับเพื่อนร่วมงาน

  17. ปัญหาอากาศเย็น ปัญหาอากาศร้อน ปัญหาฝุ่นผง ภาระสิ่งแวดล้อม ปัญหามลภาวะเป็นพิษ ปัญหาแสงสว่างไม่เพียงพอ

  18. เวลาที่ใช้ทำกิจกรรมเล็กๆ จนเสร็จเรียกว่า 1 รอบเวลา และถ้ารอบเวลานี้สั้น 30 วินาที และต้องทำกิจกรรมนี้ซ้ำแล้วซ้ำอีกจะเรียกงานนี้ว่า งานซ้ำซาก งานซ้ำซาก F.W. Taylor

  19. อาการปวดเมื่อยหรือเจ็บปวดอาการปวดเมื่อยหรือเจ็บปวด กล้ามเนื้อและกระดูก ผลเสียของงานซ้ำซาก ผลดีของงานซ้ำซาก ผลผลิตมีมากมาย

  20. หนักกาย หนักใจ ออกแรงเกินกำลัง ใช้แรงทำงานนานทำให้เหนื่อย งานเสี่ยงอันตราย งานยากซับซ้อน งานที่ต้องใช้ความคิด งานเสี่ยงอันตราย งานหนัก

  21. แบบตรวจสอบการยศาสตร์ในงานวิศวกรรมแบบตรวจสอบการยศาสตร์ในงานวิศวกรรม วัตถุประสงค์ เพื่อช่วยให้มนุษย์รู้สึกรับผิดชอบต่อตัวเองและผู้อื่น กระตุ้นให้สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างเป็นระบบมีระเบียบ มีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัย ภายใต้สิ่งแวดล้อมเดียวกัน ซึ่งจะประกอบด้วยคำถามเพื่อเตือนความจำ โดยอิงจากพื้นฐานของการยศาสตร์ในงานวิศวกรรม

  22. ข้อบ่งชี้ทั่วไปที่บอกถึงความจำเป็นที่จะต้องใช้การยศาสตร์ในการประยุกต์ข้อบ่งชี้ทั่วไปที่บอกถึงความจำเป็นที่จะต้องใช้การยศาสตร์ในการประยุกต์ • มีปริมาณการลางานที่สูงขึ้นหรือไม่ • มีปริมาณการเปลี่ยนหน้าที่การทำงานสูงหรือไม่ • ประสิทธิภาพในการผลิตลดลงหรือไม่ • มีการร้องเรียนเรื่องปัญหาในการทำงานมากขึ้นหรือไม่ • มีงานที่ต้องใช้คนงานที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะ เช่น เพศ อายุ หรือขนาดร่างกายบ้างหรือไม่ • มีระยะเวลาในการฝึกงาน ก่อนเข้าทำงานจริงนานหรือไม่

  23. ความจำเป็นที่จะต้องใช้การยศาสตร์ในการประยุกต์ความจำเป็นที่จะต้องใช้การยศาสตร์ในการประยุกต์ • คุณภาพของผลิตภัณฑ์ต่ำลงหรือไม่ • มีอุบัติเหตุเกิดขึ้นบ่อยครั้งหรือไม่ • มีการไปรับการรักษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญบ่อยหรือไม่ • มีวัตถุดิบเหลือทิ้งจากงานมากเกินไปหรือไม่ • มีการเสียหายของอุปกรณ์จากการทำงานหรือไม่ • คนงานทำงานผิดพลาดบ่อยครั้งหรือไม่ • ผู้ปฎิบัติงานออกจากจุดที่ทำงานบ่อยครั้งหรือไม่ • มีการทำงานมากกว่าหนึ่งกะต่อวันหรือไม่

  24. ข้อบ่งชี้ถึงความจำเป็นของการออกแบบสถานที่ทำงานข้อบ่งชี้ถึงความจำเป็นของการออกแบบสถานที่ทำงาน • ระดับพื้นผิวในการทำงานมีระยะสูงหรือต่ำไปสำหรับ คนทำงานหลายๆ คนหรือไม่ • คนงานมักจะนั่งเฉพาะที่ขอบหน้าของเก้าอี้หรือไม่ • คนงานจะต้องใช้ท่าทางที่ผิดธรรมชาติเพื่อช่วยในการ ตรวจดู หรือการหยิบจับในการทำงานหรือไม่ • คนงานจะต้องเท้าควบคุมเครื่องจักรขณะยืนหรือไม่ • การใช้เท้าหรือเข่าควบคุมเครื่องจักรต้องอยู่ในท่าทาง ที่ผิดธรรมชาติหรือไม่

  25. ความจำเป็นของการออกแบบสถานที่ทำงานความจำเป็นของการออกแบบสถานที่ทำงาน • แป้นควบคุมโดยใช้เท้ามีขนาดเล็กเกินกว่าที่จะให้มีการขยับเท้าได้หรือไม่ • ที่พักเท้าจำเป็นหรือไม่ • คนงานพยายามที่จะหาเบาะมาปรับเก้าอี้ทำให้การนั่งสบายขึ้น หรือไม่ • คนงานจะต้องยกแขนหรือมือเพื่อทำงานโดยไม่มีที่พักแขนหรือไม่

  26. ความจำเป็นของการออกแบบสถานที่ทำงานความจำเป็นของการออกแบบสถานที่ทำงาน • หน้าปัดและอุปกรณ์ควบคุมใช้งานยากหรือมีป้ายการใช้ไม่ชัดเจนหรือไม่ • การออกแบบเครื่องอุปกรณ์เป็นอุปสรรคต่อการบำรุงรักษาและการทำความสะอาดหรือไม่ • มีการวางของเกะกะและไม่เป็นระเบียบบ้างในบริเวณที่ทำงานหรือไม่ • คนงานต้องการเก้าอี้ที่ปรับเปลี่ยนไม่ได้หรือไม่ • คนงานสามารถใช้อุปกรณ์จับยึด เช่น ปากกาจับ เพื่อลดการใช้แรงบีบได้หรือไม่

  27. ข้อบ่งชี้ถึงความจำเป็นที่จะต้องออกแบบการทำงานข้อบ่งชี้ถึงความจำเป็นที่จะต้องออกแบบการทำงาน • มีคนงานที่ต้องออกแรงในการยกของเกินกำลังหรือไม่ • คนงานจะต้องออกแรงดึง แรงดัน สิ่งของต่างๆ ที่ที่ต้องใช้แรงเริ่มต้นมากหรือไม่ • มีการเข็น หรือดึงสิ่งของ ขึ้นลงทางลาดบ้างหรือไม่ • มีท่าทางในการทำงานเอี้ยวตัว หรือลำตัวบิดไปจากท่าปกติหรือไม่

  28. ความจำเป็นที่จะต้องออกแบบการทำงานความจำเป็นที่จะต้องออกแบบการทำงาน • จังหวะในการทำงานแต่ละชิ้นของคนงาน เร็วเกินไปและไม่อยู่ในความควบคุมหรือไม่ • อัตราการเต้นของหัวใจเกินกว่า 120 ครั้งต่อนาทีหรือไม่ • มีการร้องเรียนเกี่ยวกับความเมื่อยล้าหรือไม่ • มีงานซ้ำซาก ที่ต้องทำด้วยความเร็วบ้างหรือไม่ • มีความจำเป็นต้องใช้เครื่องมือ โดยใช้มือทำงานมากหรือไม่ • มีความจำเป็นที่ต้องใช้มือ และ เท้าทั้งสองทำงานอย่างต่อเนื่อง เป็นระยะเวลานานหรือไม่

  29. ความจำเป็นที่จะต้องออกแบบการทำงานความจำเป็นที่จะต้องออกแบบการทำงาน • คนงานไม่มีการปรับเปลี่ยนท่าทางในการทำงานเลยหรือไม่ • คนงานจะต้องเอาใจใส่ต่อการเปลี่ยนแปลงของงานโดยเฉพาะเมื่อต้องทำงานกับเครื่องจักรหลายตัวหรือไม่ • ข้อมูลที่คนงานได้รับในแต่ละสายการผลิต เกินกว่าขีดความสามารถของเขาในการจัดการ หรือไม่ • คนงานไม่สามารถตอบสนองต่อสัญญาณ หรือข้อมูลไฮเทค ได้อย่างทันเวลาหรือไม่

  30. ข้อบ่งชี้ในความจำเป็นที่จะต้องให้ความสำคัญกับสภาวะแวดล้อมในการทำงานข้อบ่งชี้ในความจำเป็นที่จะต้องให้ความสำคัญกับสภาวะแวดล้อมในการทำงาน • มีเสียงดังเกิดขึ้นในกระบวนการทำงานรบกวนการสื่อความ หรือการได้ยินหรือไม่ • เสียงนั้นได้รบกวนหรือขัดขวาง การทำงานของคนงานนั้นหรือไม่ • มีเสียงดังที่จะก่อให้เกิดการสูญเสียการได้ยินบ้างหรือไม่ • มีแสงสว่างที่เพียงพอต่อการทำงาน หรือมองเห็นบ้างหรือไม่ • มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านความสว่างของแสง จากมืดไปสว่าง อยู่บ่อยครั้งหรือไม่

  31. ความจำเป็นที่จะต้องให้ความสำคัญกับสภาวะแวดล้อมในการทำงานความจำเป็นที่จะต้องให้ความสำคัญกับสภาวะแวดล้อมในการทำงาน • มีแหล่งของแสงสว่างที่จ้าสะท้อนเข้าตามากเกินไปหรือไม่ • มีแสงสะท้อนจากผิวมันสะท้อนเข้าตาทำให้เสียสมาธิในการทำงานบ้างหรือไม่ • สีพื้นของอุปกรณ์ต่างๆ สามารถแยกออกได้จากสีของเครื่องควบคุมต่างๆ อย่างชัดเจนหรือไม่ • อุณหภูมิในการทำงานพอเหมาะหรือไม่ • ความชื้นสัมพัทธ์พอเหมาะหรือไม่ • มีความร้อนที่เกิดจากการแผ่รังสีใกล้กับบริเวณที่ทำงานหรือไม่

  32. ความจำเป็นที่จะต้องให้ความสำคัญกับสภาวะแวดล้อมในการทำงานความจำเป็นที่จะต้องให้ความสำคัญกับสภาวะแวดล้อมในการทำงาน • คนงานต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและการมองเห็นที่เกิดอย่างรวดเร็วหรือไม่ • อุปกรณ์ก่อให้เกิดการสั่นสะเทือนต่อมือ แขน ขา และร่างกายคนงานหรือไม่ • มีฝุ่นเกาะจับบนหน้าปัดอุปกรณ์ที่จะทำให้การมองเห็นไม่ชัดเจนบ้างหรือไม่

  33. ข้อบ่งชี้ถึงความจำเป็นที่จะต้องมีการคัดเลือกพนักงานข้อบ่งชี้ถึงความจำเป็นที่จะต้องมีการคัดเลือกพนักงาน • ความสูงของอุปกรณ์มากจนทำให้คนงานที่มีความสูงมากๆ เท่านั้นที่จะเอื้อมถึง หรือไม่ • ความสูงของอุปกรณ์นั้นเป็นสาเหตุทำให้คนที่สูงมากๆ ต้องก้มในขณะทำงาน หรือไม่ • อุปกรณ์ต่างๆ วางอยู่ใกล้กันมากจนทำให้คนตัวใหญ่ทำงานอย่างไม่สะดวกและไม่ปลอดภัยหรือไม่ • อุณหภูมิในการทำงานสูงมากจนต้องใช้คนที่มีความอดทนต่อความร้อนทำงาน หรือไม่

  34. ข้อบ่งชี้ถึงความจำเป็นที่จะต้องมีการคัดเลือกพนักงานข้อบ่งชี้ถึงความจำเป็นที่จะต้องมีการคัดเลือกพนักงาน • งานนั้นจำเป็นต้องใช้คนที่สามารถเห็นสีได้ตามปกติหรือไม่ • มีงานที่ต้องใช้บุคคลที่มีสุขภาพร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงเท่านั้นทำหรือไม่ • มีงานที่มีท่าทางการทำงานไม่เหมาะสมสำหรับคนมีครรภ์บ้างหรือไม่ • ที่ว่างใต้โต้ะแคบมากจนต้องใช้คนงานที่มีขนาดร่างกายเล็กนั่งทำงานเท่านั้นหรือไม่ • งานที่ทำนั้น ต้องการคนที่มีระบบการได้ยินปกติหรือไม่ • มีงานที่ต้องอาศัยการตัดสินใจและการตอบสนองอย่างรวดเร็ว ในการทำงานกับเครื่องจักรหรือไม่ • มีงานที่ต้องใช้ความสัมพันธ์ระหว่างตา กับมืออย่างดีหรือไม่

  35. ข้อบ่งชี้ถึงความต้องการเกี่ยวกับการควบคุมการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพข้อบ่งชี้ถึงความต้องการเกี่ยวกับการควบคุมการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ • คนงานทราบเรื่องท่าทางในการทำงานเหมาะสมหรือไม่ • เก้าอี้นั่งสามารถปรับได้หรือไม่ • คนงานต้องทำงานอย่างต่อเนื่องทั้งๆ ที่อยู่ในช่วงเวลาพักหรือไม่ • คนงานทราบเรื่องเทคนิคในการยก การแบก การผลัก และการดึงที่เหมาะสมหรือไม่

  36. ความต้องการเกี่ยวกับการควบคุมการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพความต้องการเกี่ยวกับการควบคุมการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ • คนงานไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลที่จำเป็นหรือไม่ • คนงานทราบถึงอันตรายที่จะเกิดจากเสียงดังและการทำงานในที่ร้อนหรือไม่ • คนงานดื่มน้ำเพียงพอในการทำงานในบริเวณที่มีความร้อนสูงหรือไม่

  37. Reference • Charoenporn N., “Ergonomics”, Thammasat University, 2000. • Intranont K., “Ergonomics”, Chulapress, 2005. • Sanders M. S., McCormick E. J., “Human Factor in Engineering and Design”, McGRAW-HILL INC., International Editions, 1992. • Tayyari F., Smith J. L., “Occupational Ergonomics : Principles and Application”, Chapman & Hall, London, 1997.

More Related