1.16k likes | 2.57k Views
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี Good Governance. สถานการณ์ และความจำเป็นที่ต้องปรับเปลี่ยน การบริหารภาครัฐ. สถานการณ์ ปรับทิศทาง บทบาท ภารกิจ และวิธีการบริหาร ค่านิยมหลัก แนวคิด ขององค์กรที่เป็นเลิศ ลักษณะสำคัญขององค์กร. ความจำเป็นที่ต้องปรับเปลี่ยนการบริหารภาครัฐ. สถานการณ์.
E N D
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี Good Governance
สถานการณ์ และความจำเป็นที่ต้องปรับเปลี่ยนการบริหารภาครัฐ • สถานการณ์ • ปรับทิศทาง บทบาท ภารกิจ และวิธีการบริหาร • ค่านิยมหลัก แนวคิด ขององค์กรที่เป็นเลิศ • ลักษณะสำคัญขององค์กร
ความจำเป็นที่ต้องปรับเปลี่ยนการบริหารภาครัฐความจำเป็นที่ต้องปรับเปลี่ยนการบริหารภาครัฐ สถานการณ์ โลกยุคโลกาภิวัฒน์ เศรษฐกิจเสรีไร้พรมแดน *การแข่งขันในเวทีโลก กระแสสังคมเช่น *ประชาธิปไตย *ธรรมาภิบาล สังคมเศรษฐกิจ เป็นยุคแห่งการเรียนรู้ ใครเรียนรู้ไม่ทันโลกก็จะมีปัญหา งานของรัฐมากขึ้น ยากขึ้น รัฐต้องเล็กลง ลดเงิน ลดคน ลดอำนาจ ต้องเปิดให้มีส่วนร่วม ต้องโปร่งใส พร้อมถูกตรวจสอบ
งานมากขึ้น ยากขึ้น รัฐต้องเล็กลง ลดเงิน ลดคน ลดอำนาจ ต้องให้มีส่วนร่วม โปร่งใส ตรวจสอบได้ รัฐที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา : เน้น กำกับ มากกว่าปฏิบัติ Civil Society Market Economy รัฐของชุมชน รัฐที่ใช้กลไกตลาด New Public Management รัฐที่มุ่งผลงาน
ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาด ให้เหมาะสม พัฒนา ให้ระบบราชการ เป็นระบบเปิด พัฒนาคุณภาพ การบริการ ประชาชน เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน ยกระดับ ขีดความสามารถ และมาตรฐาน การทำงาน
ปรับยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ สถานการณ์ โอกาส ภัยคุกคาม ภายนอก OT เราคือ.... ด้วยหลักการ... กลยุทธ์ สถานการณ์ภายใน จุดแข็ง S จุดอ่อน W การปรับเปลี่ยนองค์กร
ค่านิยมหลัก แนวคิด ขององค์กรที่เป็นเลิศ ค่านิยมหลักและแนวคิด 1. การนำองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ 2. ความเป็นเลิศที่มุ่งเน้นลูกค้า 3. การเรียนรู้ขององค์กรและของแต่ละบุคคล 4. การเห็นคุณค่าของพนักงานและคู่ค้า 5. ความคล่องตัว 6. การมุ่งเน้นอนาคต 7. การจัดการเพื่อนวัตกรรม 8. การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง 9. ความรับผิดชอบต่อสังคม 10. การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์และการสร้างคุณค่า 11. มุมมองในเชิงระบบ เกณฑ์ PMQA 1. การนำองค์กร 2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 3. การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการ ความรู้ 5. การมุ่งเน้นบุคลากร 6. การจัดการกระบวนการ 7. ผลลัพธ์
ลักษณะสำคัญขององค์กร 2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 2.1 การจัดทำกลยุทธ์ 2.2 การนำถ่ายทอดกลยุทธ์หลัก เพื่อนำไปปฏิบัติ 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1 ระบบงาน 5.2 การเรียนรู้และการสร้างแรงจูงใจ 5.3 การสร้างความผาสุกและความพึงพอ ใจของบุคลากร 1. การนำองค์กร 1.1 การนำองค์กร 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม 7. ผลลัพธ์การดำเนินงาน 7.1 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผล 7.2 ผลลัพธ์ด้านคุณภาพ 7.3 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิภาพ 7.4 ผลลัพธ์ด้านการพัฒนาองค์กร 3. การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.1 ความรู้เกี่ยวกับผู้บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 ความสัมพันธ์และความพึงพอใจของผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้เสีย 6. การจัดการกระบวนการ 6.1 กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2 กระบวนการสนับสนุน 4. การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 4.1 การวัดและวิเคราะห์การดำเนินการของส่วนราชการ 4.2 การจัดการสารสนเทศและความรู้
ความหมาย การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • คุณค่าการบริหารและคุณค่าทางการเมือง • การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์
Good Governance • การบริหารงานที่มีเป้าหมาย • รับผิดชอบและสนองตอบต่อความต้องการของประชาชน • ภายใต้ระบบบริหารที่โปร่งใส • มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล • มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจขององค์กร
หลักบริหาร หรือแนวทางที่พึงประสงค์ที่หน่วยงานใช้สำหรับกำหนดแนวทางการทำงานเน้นองค์กรที่มีบทบาทในพื้นที่สาธารณะ และเป็นการผสมผสานคุณค่าหลัก 2 ด้าน เข้าด้วยกัน Good Governance
Good Governance • 1.คุณค่าทางบริหาร -มีระบบการบริหารที่มีสมรรถนะสูง -ใช้ทรัพยากรคุ้มค่า -เกิดประสิทธิ์ภาพ -มีประสิทธิผลสัมฤทธิ์ตามภารกิจของรัฐ
2.คุณค่าทางการเมือง -รับผิดชอบต่อประชาชน -กระบวนการโปร่งใส -มุ่งประโยชน์สุขของประชาชน
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ แผนปฏิบัติการ (คำรับรองฯ) แผนกลยุทธ์ *วิสัยทัศน์ ภารกิจ เป้าหมาย *ตัวชี้วัดผลงาน *แผนระยะยาว *ทรัพยากร *กลยุทธ์ มาตรการ *กำหนดเวลา *ปัจจัยภายนอกที่สำคัญ *ทุก ๆ 3 ปี *ใบคะแนน ความยืดหยุ่นในการบริหาร การประเมินผลแผนระยะยาว รายงานผลงานประจำปี
เราคือ.... ด้วยหลักการ... ผลงานด้านที่สำคัญ การเมือง ตัวชี้วัดผลสำเร็จ ผู้ซื้อบริการ วัตถุประสงค์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ ผู้ขายบริการ อิสระในการบริหาร และ ความรับผิดชอบต่อผลงาน ราชการ กลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีของประเทศไทยการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีของประเทศไทย • ปฐมบรมราชโองการ เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข แห่งมหาชนชาวสยาม • ทศพิศราชธรรม • วิวัฒนาการการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ตั้งแต่ 2542 -2550
Good Governance • เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข • แห่งมหาชนชาวสยาม
Royal Good Governance ทศพิศราชธรรม
ทาน ศีล การบริจาค ความซื่อตรง ความอ่อนโยน ความเพียร ความไม่โกรธ ความไม่เบียดเบียน ความอดทน ความไม่คลาดจากธรรม Good Governance
ธรรมรัฐ ธรรมาภิบาล 2542-2544 การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542) 2545-2550 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ พ.ศ. 2542 หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความคุ้มค่า Good Governance หลักความรับผิดชอบ หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม
Good Governance • เป็นการใช้อำนาจ บริหาร จัดการ ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ สังคม เพื่อการพัฒนาของประเทศ • เป็นระบบ โครงสร้าง กระบวนการ ที่วางกฎเกณฑ์ ความสัมพันธ์ระหว่างระบบ เศรษฐกิจ การเมือง สังคม ของประเทศ เพื่อที่ภาคต่าง ๆ ของสังคมจะพัฒนา และอยู่ร่วมกันอย่างสงบ สันติสุข • เป็นวิธีการ หรือเป็นเครื่องมือ คือ การมีส่วนร่วม ความโปร่งใสตรวจสอบได้ การมีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน
การมีส่วนร่วม รับผิดชอบ การบริหาร การจัดการ ประโยชน์สุข ของประชาชน โปร่งใส
Good Governance • การมีส่วนร่วม (Participation) -ประชาชนได้รับข้อมูล -ปรึกษาหารือ -ประชาชนได้แสดงความคิดเห็น ความโปร่งใส (Transparency) -ประกาศกำหนดเป้าหมาย - แผนงาน – ระยะเวลา – งบประมาณ -การเปิดเผยข้อมูล
ความรับผิดชอบ(Accountability) - ผู้บังคับบัญชา (ในฐานะผู้บริหาร) - ผู้ปฏิบัติงาน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีกฎหมายที่เกี่ยวข้องการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • รธน. 2550 • พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5,7)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 • หมวด 4 หน้าที่ของชนชาวไทย • ม.74 หน้าที่ข้าราชการ ดำเนินการตามกฎหมาย รักษาประโยชน์ส่วนรวม อำนวยความสะดวก ให้บริการประชาชนตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 • หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ • ส่วนที่ 3 แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน • ม.78 (4)....ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐใช้หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเป็นแนวทางในการปฏิบัติราชการ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 • ส่วนที่ 7 แนวนโยบายด้านเศรษฐกิจ • ม.84(2) สนับสนุนให้มีการใช้หลักคุณธรรม จริยธรรม และหลักธรรมาภิบาลควบคู่กับการประกอบกิจการ
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ม.๓/๑(ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 • การบริหารเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน • เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจภาครัฐ • มีประสิทธิภาพในเชิงภารกิจแห่งรัฐ • ให้ส่วนราชการใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ม.๕๕/๑ • ในจังหวัด ให้มี ก.ธ.จ. คณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด • ทำหน้าที่ สอดส่อง เสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐในจังหวัด ให้ใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีตามหลักในมาตรา 3/1
Good Governance การบริหารราชการ เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน
Good Governance เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
Good Governance • มีประสิทธิภาพในเชิงภารกิจแห่งรัฐ ลดขั้นตอนการทำงาน ลดภารกิจ/ยุบหน่วยงาน กระจายภารกิจ/อำนาจ ตอบสนองความต้องการประชาชน
Good Governance ให้ส่วนราชการใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน โปร่งใส
พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • หมวด 1 มาตรา 6 • วัตถุประสงค์ • ประโยชน์ • เป้าหมาย 7 ประการ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ประกอบด้วยบทบัญญัติ 9 หมวด 53 มาตรา ให้ไว้ 9 ตุลาคม 2546
วัตถุประสงค์ • รัฐ สามารถกำหนดนโยบาย/เป้าหมาย การทำงานในแต่ละปีได้อย่างชัดเจน มีกลไกการพัฒนาองค์กรของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพขึ้นได้ • ส่วนราชการ ข้าราชการ มีแนวทางการปฏิบัติงานชัดเจน โปร่งใส วัดผลได้ • ประชาชนได้รับบริการที่รวดเร็ว / สามารถตรวจสอบการทำงาน และการมีส่วนร่วมในการบริหารงานภาครัฐ
ประโยชน์ของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีประโยชน์ของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี รัฐสามารถกำหนดนโยบาย/เป้าหมายการทำงานในแต่ละปี ได้ชัดเจน มีกลไกพัฒนาองค์กรของภาครัฐให้มี ประสิทธ์ภาพขึ้นได้ ส่วนราชการ ข้าราชการ มีแนวทางการปฏิบัติงานชัดเจน โปร่งใสวัดผลได้ ประชาชนได้รับการบริการที่รวดเร็วตรวจสอบการทำงาน และการมีส่วนร่วมในการบริหารงานภาครัฐ
หมวดที่ 1 การบริการกิการบ้านเมืองที่ดี ม.6------”---------เพื่อบรรลุเป้าหมาย เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน ประเมินผล การปฏิบัติราชการอย่างสม่ำเสมอ ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจรัฐ การบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี ประชาชนได้รับความสะดวก ตอบสนองความต้องการ มีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจำเป็น
การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชนการบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน • การให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางในการได้รับบริการจากรัฐ • การดำเนินการให้มีความโปร่งใส • การมีส่วนร่วมของประชาชน
การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่าเชิงภารกิจภาครัฐ • หลักความโปร่งใส • หลักความคุ้มค่า • หลักความชัดเจนในการปฏิบัติราชการ (หลักความรับผิดชอบ)
การลดขั้นตอนการปฏิบัติงานการลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน • การกระจายอำนาจการตัดสินใจ • การจัดตั้งศูนย์บริการร่วม
การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการการปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ • การทบทวนภารกิจ • การทบทวนกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
การอำนวยความสะดวกและการตอบสนองความ ต้องการของประชาชน • การกำหนดระยะเวลาการปฏิบัติงาน • การจัดระบบสารสนเทศ • การรับฟังข้อร้องเรียน • การเปิดเผยข้อมูล
การประเมินผลการปฏิบัติราชการการประเมินผลการปฏิบัติราชการ • การประเมินผลส่วนราชการ • การประเมินผู้ปฏิบัติงาน
การปรับใช้กับการปฏิบัติหน้าที่การปรับใช้กับการปฏิบัติหน้าที่ • ค่านิยมใหม่ • Competency • มติ ค.ร.ม. 22 ก.ค. 2546 • กรอบแนวคิดเรื่องแรงจูงใจ • คำรับรองปฏิบัติราชการ • การบริหารจัดการยุทธศาสตร์ • การบริการ # ความมั่นคง • Action Plan
เปรียบเทียบการบริหารงานบุคคลกับการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีเปรียบเทียบการบริหารงานบุคคลกับการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ค่านิยมในการบริหารภาครัฐแนวใหม่ค่านิยมในการบริหารภาครัฐแนวใหม่ ค่านิยมใหม่ • ทันโลกทันเหตุการณ์ เรียนรู้ ปรับตัวอย่างต่อเนื่อง Relevance • มุ่งพัฒนาประสิทธิภาพ รู้ความคุ้มค่า คุ้มทุน Efficiency • รับผิดชอบต่อผลงาน ต่อประชาชน Accountability • เป็นประชาธิปไตย มีส่วนร่วม โปร่งใส Democratic Governance • มุ่งเน้นผลงาน มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ Yield • มีศีลธรรม คุณธรรม Morality • ขยัน ทำงานเชิงรุก ไม่ดูดาย Activeness • มีและรักศักดิ์ศรี Integrity