590 likes | 823 Views
กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบ สถาบันการเงิน ( Financial Institution Development Fund : FIDF ). สาเหตุการเกิดภาวะเศรษฐกิจเติบโตและตกต่ำใน ปี พ.ศ. 2531- 41. - ช่วงปี พ.ศ. 2531-2538 เศรษฐกิจไทยเติบโต โดยเฉลี่ยร้อยละ 8.6 ต่อปี - รายได้ประชากรเพิ่มมากขึ้น ส่งสินค้าออกได้มากขึ้น.
E N D
กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบ สถาบันการเงิน (Financial Institution Development Fund : FIDF)
สาเหตุการเกิดภาวะเศรษฐกิจเติบโตและตกต่ำใน ปี พ.ศ. 2531- 41 - ช่วงปี พ.ศ. 2531-2538 เศรษฐกิจไทยเติบโต โดยเฉลี่ยร้อยละ 8.6 ต่อปี - รายได้ประชากรเพิ่มมากขึ้น ส่งสินค้าออกได้มากขึ้น
- พ.ศ. 2533ประเทศไทยประกาศรับ พันธะข้อ 8 ของ IMF( ปล่อยให้การเงินไหลเข้าออกโดยเสรี ) - ผ่อนคลายระเบียบข้อบังคับด้านปริวรรตเงินตรา - ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนดอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ $1 = 25 บาท
- พ.ศ. 2536ธนาคารชาติออกใบอนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์ทั้ง ในประเทศและสาขาต่างประเทศ สามารถประกอบ กิจการวิเทศธนกิจ (BIBF) ส่งผลให้เกิดการหลั่งไหลของเงินตราต่างประเทศมากขึ้น - เอกชนแห่กู้เงินต่างประเทศมาก เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยถูกกว่าในประเทศ ส่วนใหญ่เป็นเงินกู้ระยะสั้น
เงินกู้ ต่างประเทศ เงินกู้ ต่างประเทศ ประเทศไทย
บริษัทเงินทุนออกทำ Road Show ในต่าง ประเทศทำให้มีเงินไหลเข้ามาภายใน • ประเทศเป็นจำนวนมาก • - ราคาที่ดินสูงขึ้น ราคาหุ้นสูงขึ้น • - ประชาชนใช้จ่ายเงินกันอย่างฟุ่มเฟือยสุดขีด • - อสังหาริมทรัพย์เติบโตสุดขีด (เศรษฐกิจฟองสบู่ ) • - อัตราดอกเบี้ยเงินกู้เริ่มสูงขึ้น
- ต้นปี พ.ศ. 2539 ยอดส่งออกลดลงอย่างมาก สาเหตุจากต้นทุนสินค้าสูงเกินไป ค่าเงินบาทแข็งเกินไป -รายได้ประชาชาติ ลดลง 8.2 % - ต้นปี พ.ศ. 2540 Moody และ S&P ประกาศลดอันดับเครดิตของประเทศไทยจาก A-เหลือ B - ความเชื่อมั่นของชาวต่างประเทศลดลง
- นักเก็งกำไรค่าเงินคาดว่าประเทศไทยต้องลดค่าเงินบาทอย่างแน่นอน ( เหมือนประเทศ BRAZIL) - ต่างชาติทยอยถอนเงินกลับ ( เรียกเงินกู้คืน ) - นักเก็งกำไรเริ่มโจมตีค่าเงินบาท ( นายจอร์ช โซรอส )
- ปลายปี 2539 อสังหาริมทรัพย์ ( ที่ดิน คอนโดฯ ตึกแถว ) ขายไม่ออก - เจ้าหนี้ต่างชาติไม่ยอมต่ออายุเงินกู้ - สถาบันการเงินขาดสภาพคล่อง ดึงเงินกู้จากลูกค้าคืนไม่ได้ - สถาบันการเงินหลายแห่งถูกธนาคารแห่งประเทศไทย สั่งให้เพิ่มทุน แต่หลายแห่งไม่สามารถเพิ่มได้
ประชาชนเริ่มถอนเงินฝากจากบริษัทเงินทุนและธนาคารประชาชนเริ่มถอนเงินฝากจากบริษัทเงินทุนและธนาคาร • ประเทศไทยขาดดุลการค้าเป็นจำนวนมาก • - กลางปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยติดต่อขอกู้เงินจาก IMF • - IMFมีข้อกำหนดให้สถาบันการเงินไหนไม่เข้มแข็งให้ปล่อยล้ม
- ปลายปี พ.ศ. 2540 บริษัทเงินทุน 58 แห่งถูกระงับกิจการ - ต้นปี พ.ศ. 2541 ควบคุมกิจการธนาคาร 4 แห่ง ( มหานคร กรุงเทพฯพาณิชยการ ศรีนคร นครหลวงไทย )
กลางปี พ.ศ. 2541 : • - ธนาคารแห่งประเทศไทยเข้าแทรกแซงธนาคารแหลมทอง และ ธนาคารสหธนาคารโดยสั่งเพิ่มทุน • เข้าแทรกแซงบริษัทเงินทุน 7 แห่งโดยให้รวมกับบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ กรุงไทยธนกิจ แปลงฐานะเป็นธนาคาร ( ไทยธนาคาร ) • ปลายปี 2541 เกิดวิกฤติการณ์ทางการเงินอย่างรุนแรง
วิกฤตการณ์ทางการเงินในตลาดหุ้น วิกฤตการณ์ทางการเงินในตลาดหุ้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในช่วงปี พ.ศ. 2530 - 2539 1. วิกฤตการณ์วันจันทร์ทมิฬ ( Black Money ) - เกิดขึ้นกับตลาดหุ้นทั่วโลก วันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม 2530 อันเป็นผลมาจากหุ้นกู้ประเภท Junk Bond - ราคาหุ้นในตลาดโลกตกต่ำอย่างหนัก
- นักลงทุนต่างชาติถอนตัวจากประเทศไทยไปชดเชยการขาดทุนในประเทศของตน - ราคาหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ลดลง 48 %
2. วิกฤตการณ์สงครามอ่าวเปอร์เซีย - ในช่วง 3 เดือน( พ.ค.-ก.ค.) 2533 การซื้อขายหุ้นหนาแน่น เฉลี่ยวันละ 4,000 - 5,000 ล้านบาท - 2 สิงหาคม 2533 อิรักบุกยึดคูเวต - เกิดสงครามอ่าวเปอร์เซีย - ราคาหุ้นตก 50%
- เกิดความเสียหายกับบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์จำนวนมาก - รัฐบาลได้จัดตั้งกองทุน 2 กองทุนเข้าช่วยเหลือโดยเข้าไปซื้อหุ้นในตลาดหลักทรัพย์
3. วิกฤตการณ์จับนักปั่นหุ้น - หลังเหตุการณ์ในอ่าวเปอร์เซียสงบลง ราคาหุ้นได้กระเตื้องสูงขึ้น - การซื้อขายหุ้นหนาแน่น แต่การซื้อขายส่วนใหญ่เป็นไปในลักษณะการปั่นหุ้น
- 18 พ.ย. 2535 ก.ล.ต. ได้ดำเนินการกล่าวโทษ นายสอง วัชรศรีโรจน์และพวกอีก 11 คน ในข้อหาปั่นหุ้น - ราคาหุ้นได้ตกลงอีกครั้งหนึ่ง
4. วิกฤตการณ์ตลาดหลักทรัพย์ซบเซา - พ.ศ. 2538-2539 มีความผันผวนของเงินตราต่างประเทศ - ชาวต่างชาติโยกย้ายเงินลงทุนไปต่างประเทศ - เกิดปัญหาการเมืองและผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ต่ำ - ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ลดลง - พ.ศ. 2540 เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ( ฟองสบู่แตก )
กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (Financial Institution Development Fund : FIDF) สาเหตุหลักที่ทำให้เกิดปัญหาสถาบันการเงิน • ความด้อยประสิทธิภาพในการกำกับดูแล • สถาบันการเงิน • ระบบกฎหมายล้าสมัย • ความไม่รอบคอบในการบริหารงานของภาค • เอกชน
ขาดความรอบคอบในการให้สินเชื่อ / ให้ • สินเชื่อแก่ญาติมิตร • สถาบันการเงินใช้เงินผิดประเภท • การเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณชนไม่สมบูรณ์ • ประชาชนไม่พิจารณาความเสี่ยงในการฝาก • เงิน
กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาฯกองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาฯ • - เป็นกองทุนที่ธนาคารแห่งประเทศไทยตั้งขึ้น • เมื่อพ.ศ. 2528 • สถาบันการเงินที่ประสบปัญหาในอดีตและปัจจุบันกองทุนฯ จะเข้าไปช่วยเหลือแก้ไข • จนกลับมาเข็มแข็งเหมือนเดิม • - ในอดีตเคยมีแนวความคิดจะตั้ง “สถาบันประกันเงินฝาก”มาก่อน
แต่ นายสมหมาย ฮุนตระกูล อดีตรัฐมนตรี • ว่าการกระทรวงการคลังในสมัยนั้นไม่เห็นด้วย • - ได้นำ พ.ร.บ. สถาบันประกันเงินฝากมาแก้ไขใหม่แล้วเสนอจัดตั้ง กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาฯ ขึ้นมาแทน
FIDF วัตถุประสงค์ของกองทุนฯ • เพื่อให้ธนาคารแห่งประเทศไทยสามารถช่วยเหลือสถาบันการเงินที่ประสบปัญหาได้อย่างรวดเร็วและคล่องตัว • เพื่อเสริมสร้างความเป็นธรรมและความร่วมมือระหว่างรัฐบาลกับสถาบันการเงินในการรับผิดชอบต่อปัญหา
3. เพื่อป้องกันผลกระทบต่อเนื่องจากการที่ระบบสถาบันการเงินขาดความมั่นคงและเสถียรภาพ
การดำเนินงานของกองทุนฟื้นฟูฯ 1. ถือกรรมสิทธิ์ หรือมีสิทธิครอบครอง หรือมีทรัพย์สินต่างๆ 2. ให้กู้ยืมเงินแก่สถาบันการเงิน โดยมีหลักประกันตามสมควร 3. ค้ำประกัน หรือรับรอง รับอาวัล
4. ให้ความช่วยเหลือทางการเงินตามควรแก่กรณี สำหรับผู้ฝากเงินหรือผู้ให้กู้ยืมแก่สถาบันการเงินที่ต้องเสียหาย 5. ซื้อ หรือเข้าหุ้นในสถาบันการเงิน 6. กู้ หรือยืมเงินออกตั๋วและพันธบัตร
แหล่งที่มาของเงินทุน 1. เงินนำส่งจากสถาบันการเงิน กฎหมายกำหนดให้กองทุนเรียกเก็บจากสถาบันการเงินในอัตราร้อยละ 0.4 ของยอดเงินฝาก/เงินกู้ยืม 2. เงินสมทบจากธนาคารแห่งประเทศไทย
สถาบัน การเงิน สถาบัน การเงิน กองทุนฯ สถาบัน การเงิน สถาบัน การเงิน
3. กู้ยืมจากตลาดเงิน 4. การยืมเงินทดลองจ่ายจากธนาคารแห่งประเทศไทย 5. การออกพันธบัตร
แหล่งใช้ไปของเงินทุนของกองทุนฯแหล่งใช้ไปของเงินทุนของกองทุนฯ • เงินช่วยเหลือแก่สถาบันการเงิน • 2. เงินให้กู้ยืมแก่สถาบันการเงิน • 3. เงินลงทุนระยะสั้นในตลาดเงิน • 4. ลูกหนี้รับโอนจากสถาบันการเงิน
หลักในการแก้ไขปัญหาสถาบันการเงินหลักในการแก้ไขปัญหาสถาบันการเงิน • ให้สถาบันการเงินพยายามแก้ไขปัญหาของตนเองก่อน • ประเมินผลกระทบต่อระบบสถาบันการเงินโดยรวม • ประเมินค่าใช้จ่ายในการให้ความช่วยเหลือ • หาวิธีการแก้ไขให้เหมาะสม
มาตรการแก้ไขปัญหาสถาบันการเงินมาตรการแก้ไขปัญหาสถาบันการเงิน • การฝากเงิน • กองทุนฯ นำเงินไปฝากเพื่อเสริมสภาพคล่องแก่สถาบันการเงิน เพื่อเรียกความเชื่อมั่นของผู้ฝากกลับคืนมาโดยเร็ว
2. การให้กู้ยืมเงินโดยมีหลักประกัน กองทุนฯ ให้กู้ยืมเงินแก่สถาบันการเงินในอัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าปกติ ปล่อยกู้ 5% กองทุนฯ สถาบัน การเงิน กู้ 3%
3. การซื้อหุ้นเพิ่มทุน ใช้เพื่อแก้ไขปัญหาเงินกองทุนไม่เพียงพอ โดยสั่งลดทุนก่อนเพื่อล้างขาดทุนสะสม
การลดทุน - เพิ่มทุน - กองทุนฯจะสั่งให้สถาบันการเงินลดทุนลงและเพิ่ม ทุนตามมาดังนี้ : ทุนจดทะเบียน: หุ้นสามัญ 1,000,000 หุ้น @100 บาท 100,000,000 บาท ขาดทุนสะสม (120,000,000)บาท เงินกองทุน (20,000,000) บาท
ทุนจดทะเบียน: หุ้นสามัญ 1,000,000@10 บาท 10,000,000 บาท ขาดทุน (30,000,000) บาท เงินกองทุน (20,000,000) บาท หุ้นสามัญเก่า 1,000,000 @10 บ 10,000,000 บาท เพิ่มหุ้นสามัญใหม่ 6,000,000 60,000,000 บาท @ 10 บาท ขาดทุน (30,000,000)บาท เงินกองทุน 40,000,000 บาท
4. การซื้อหุ้นกู้ของสถาบันการเงิน 5. การโอนสิทธิเรียกร้องและทรัพย์สินรอการขาย กองทุนฯ จะรับโอนสินทรัพย์รอการขายและหลักประกันหนี้ของลูกหนี้เพื่อดำเนินการเร่งรัดหนี้ / พัฒนาและจำหน่าย / บังคับคดี สถาบันการเงินมีกองทุนฯ เป็นลูกหนี้ชำระหนี้แทน / มี NPL ลดลง
6. การประกันความเสียหายแก่ผู้ลงทุน โดยให้ควบรวมกับสถาบันการเงินที่มีระบบการบริหารที่ดีกว่า
มาตรการช่วยเหลือผู้ฝากเงินมาตรการช่วยเหลือผู้ฝากเงิน กองทุนฯ จะชำระคืนเงินต้นและดอกเบี้ยแก่ผู้ฝากเงินกับสถาบันการเงินที่มีปัญหาโดยการรับแลกเปลี่ยนตั๋วสัญญาใช้เงินมาเป็นตั๋วของกองทุนฯ และกองทุนฯจะทยอยจ่ายคืนเงินและดอกเบี้ยตามเงื่อนไขที่กำหนด
สถาบัน การเงิน ตั๋วสัญญาใช้เงิน ประชาชน ตั๋วสัญญาใช้เงิน กองทุนฯ
สถาบันประกันเงินฝาก ( Federal Deposit Insurance Corporation ) เป็นสถาบันที่คุ้มครองผู้ฝากเงินในสถาบันการเงิน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเสริมสร้างความเชื่อมั่นของประชาชน
2. ส่งเสริมให้มีการแข่งขันในระบบสถาบัน การเงิน 3. ช่วยคุ้มครองผู้ฝากเงิน
อำนาจของสถาบันประกันเงินฝากอำนาจของสถาบันประกันเงินฝาก สามารถเข้าไปตรวจสอบ แก้ไข เปลี่ยนแปลงในสถาบันการเงิน เช่น ถอดถอนผู้บริหาร แก้ไขระเบียบ การให้ความคุ้มครอง หากเกิดความเสียหายจะจ่ายให้แก่ผู้ฝากรายละ ไม่เกิน 1,000,00 บาท
ข้อดีของสถาบันประกันเงินฝาก 1. ช่วยเสริมสร้างความมั่นคงและเสถียรภาพแก่สถาบันการเงิน 2. ช่วยสนับสนุนให้เกิดการแข่งขันอย่างมี ประสิทธิภาพระหว่างสถาบันการเงินต่างๆ 3. ช่วยให้เกิดความเป็นธรรมแก่ผู้ฝากเงิน
ข้อเสียของสถาบันประกันเงินฝาก 1. อาจทำให้ขาดความระมัดระวังทั้งผู้ฝากและ สถาบันการเงิน 2. การเปิดเผยฐานะของสถาบันการเงิน อาจทำให้ประชาชนแตกตื่นถอนเงิน 3. เป็นการยอมรับว่า ระบบสถาบันการเงินไม่สมบูรณ์
4.สถาบันประกันเงินฝากไม่ใช่หลักประกันที่สมบูรณ์ของสถาบันการเงิน4.สถาบันประกันเงินฝากไม่ใช่หลักประกันที่สมบูรณ์ของสถาบันการเงิน
ชดเชยความ เสียหาย สถาบันประกัน เงินฝาก ประชาชน ผู้ฝากเงิน เงินนำส่ง สถาบันการเงินต่างๆ (ธนาคาร, บง., บล.)
ข้อแตกต่างระหว่างกองทุนฯ กับสถาบันประกัน ฯ