320 likes | 714 Views
โครงการ VMI EPI-Routine สปสช. กรมควบคุมโรค และ องค์การเภสัชกรรม. รายชื่อโครงการ VMI ทั้งหมด ณ ปัจจุบัน. กลุ่ม สปสช. โครงการยาต้านไวรัส โครงการยารักษาวัณโรค โครการยาต้านไวรัส จากแม่สู่ลูก โครงการยา GPO-L-One โครงการ ข้อเข่าเทียม โครงการ น้ำยาล้างไต โครงการ ยาพิเศษ ( Clopidogrel )
E N D
โครงการ VMIEPI-Routineสปสช. กรมควบคุมโรค และ องค์การเภสัชกรรม
รายชื่อโครงการ VMI ทั้งหมด ณ ปัจจุบัน กลุ่ม สปสช • โครงการยาต้านไวรัส • โครงการยารักษาวัณโรค • โครการยาต้านไวรัส จากแม่สู่ลูก • โครงการยา GPO-L-One • โครงการ ข้อเข่าเทียม • โครงการ น้ำยาล้างไต • โครงการ ยาพิเศษ ( Clopidogrel) • โครงการ ยาบัญชี จ2 • โครงการ วัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับประชาชน • โครงการ Erythropoetin • โครงการ สาย Stent
กลุ่ม กรมควบคุมโรค • โครงการยา Oseltamivir และวัคซีนไข้หวัดใหญ่สำหรับบุคคลากร • โครงการ PPE (อุปกรณ์การป้องกันการติดเชื้อ) • โครงการยาวัคซีนกลุ่ม EPI Routine • โครงการวัคซีน กลุ่ม EPI นักเรียน และ OPV รณรงค์ • โครงการถุงยางอนามัย กลุ่ม สำนักงานประกันสังคม • โครงการยาต้านไวรัสสำหรับผู้ใช้สิทธิประกันสังคม
กระจายวัคซีนพื้นฐานตามกระจายวัคซีนพื้นฐานตาม • ตารางของคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ • สำหรับกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ • เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี • หญิงมีครรภ์ โครงการวัคซีน EPI Routine
พ.ย.51-กรมควบคุมโรคให้แนวทางของระบบ VMI โครงการวัคซีน EPI Routine พ.ย.51-ก.พ.52 องค์การเภสัชกรรมจัดเตรียมระบบเพื่อรองรับ องค์การเภสัชกรรมจัดเตรียมระบบ VMI สำหรับ หน่วยบริการ และ กรมฯ ก.พ.52-มี.ค.52 กรมควบคุมโรคส่งตัวเลขข้อมูลพื้นฐาน มี.ค.52 องค์การเภสัชกรรม ทดสอบประสานงานกับหน่วยบริการ องค์การเภสัชกรรม จัดส่งวัคซีนให้หน่วยบริการในเขต องค์การเภสัชกรรม ดูแลและแก้ไขปัญหาจากหน่วยบริการ
จังหวัดที่ได้ดำเนินการเรียบร้อยแล้วจังหวัดที่ได้ดำเนินการเรียบร้อยแล้ว • เขตควบคุมโรคที่ 2 จำนวน 5 จังหวัด รวม 43 Cup • อ่างทอง, สระบุรี, ลพบุรี, ชัยนาท และสิงห์บุรี • เขตควบคุมโรคที่ 4 (บางจังหวัด) จำนวน 4 จังหวัด รวม 34 Cup • นครปฐม, ราชบุรี, เพชรบุรี, สมุทรสาคร • เขตควบคุมโรคที่ 5 รวม จำนวน 4 จังหวัด 86 Cup • นครราชสีมา, บุรีรัมย์, สุรินทร์ และชัยภูมิ • เขตควบคุมโรคที่ 6 รวม จำนวน 8 จังหวัด 123 Cup • อุดรธานี, มหาสารคาม, ขอนแก่น, เลย, หนองคาย, หนองบัวลำภู, กาฬสินธ์ และร้อยเอ็ด • เขตควบคุมโรคที่ 7 (บางจังหวัด) จำนวน 4 จังหวัด รวม 46 Cup • นครพนม, มุกดาหาร, ศรีสะเกษ, ยโสธร และ อำนาจเจริญ • สรุปรวมทั้งสิ้น 26 จังหวัด ประมาณ 334 Cup โครงการวัคซีน EPI Routine
คุณลักษณะพิเศษ ของโครงการ • Username ขึ้นต้นด้วยอักษร “R” • การบันทึกข้อมูลเป็นแบบ ระบุ Lot ของวัคซีน • การส่งเป็นการส่งเมื่อ Onhand ต่ำกว่า Reorder Point • การส่งเป็นแบบเติมเต็ม ( Maximum Limit – Onhand ) โดยปัดเศษเต็มแพค • มีการลงรับด้วย PIN Code 4 หลัก • การส่งทำโดยการส่งเดือนละ 1 ครั้งนอกจากจะมีการแจ้งพิเศษ • กรณีวัคซีนไม่เพียงพอสามารถแจ้งเพิ่มเติมได้โดยส่งให้ภายใน 5 วัน • การปรับข้อมูลพื้นฐานจะต้องได้รับการเห็นชอบจากเจ้าของโครงการ • การปรับข้อมูลพื้นฐานจะสามารถทำได้เมื่อมีการส่งแล้ว 3 รอบ • มีระบบแจ้งเตือนผ่าน SMS ในการบันทึกข้อมูลและแจ้งข่าว โครงการวัคซีน EPI Routine
ข้อมูลพื้นฐานสำหรับระบบ VMI • วันที่พื้นฐาน ได้แก่ วันที่ให้บริการ (เลือกจังหวัดละ 1 วัน) วันที่ส่งวัคซีน (ก่อนวันให้บริการ 5 วัน) และวันที่ส่งข้อมูล (ก่อนวันส่งวัคซีน 5 วัน) • ข้อมูลปริมาณวัคซีนพื้นฐาน ได้แก่ ReOrder Point (อัตราการใช้ 1 เดือน และ Maximum Limit ของ วัคซีน (อัตราการใช้ x 1.5) • ข้อมูลวัคซีนพื้นฐาน จำนวน 9 รายการ โครงการ EPI Routine 8 รายการ (วัคซีน MMR ใช้ในโครงการวัคซีนนักเรียน, วัคซีนพิษสุนัขบ้า เป็นวัคซีนเสริม) • ข้อมูลพื้นฐานของการส่งวัคซีน ได้แก่ สถานที่ส่ง ผู้รับผิดชอบ หมายเลขโทรศัพท์สำหรับการส่ง SMS โครงการวัคซีน EPI Routine
โครงการวัคซีน EPI Routine รายชื่อและข้อมูลวัคซีนพื้นฐาน ในโครงการ
โครงการวัคซีน EPI Routine ตัวอย่างวันที่พื้นฐาน ของ สคร.เขต 6
ตัวอย่างการคำนวณปริมาณส่งมอบตัวอย่างการคำนวณปริมาณส่งมอบ • วันให้บริการ วันที่ 15 ของทุกเดือน จะส่งวัคซีน 5-10 ของเดือนนั้น และกำหนดการบันทึกข้อมูล วันที่ 20-25 ของเดือนก่อนหน้า • ROP ของวัคซีน BCG คือ 100 Doses และ Max Limit คือ 150 Doses • วัคซีน BCG มีการบรรจุ Vial ละ 10 Dose 1 กล่อง มี 10 Vials • รพ.บันทึกข้อมูล 3 วันมีปริมาณลดลง 150, 100 และ 70 Doses ตามลำดับ • ณ วันส่งข้อมูลให้บริษัท องค์การนำข้อมูลครั้งสุดท้ายคำนวณ จะส่ง BCG ให้เนื่องจากต่ำกว่า ROP ในจำนวน 150-70 = 80 Doses = 8 Vials • ระบบจะปัดจำนวนขึ้นให้ลงกล่อง คือ 10 Vials ยกเว้น dT และ DTP โครงการวัคซีน EPI Routine
หน้าจอการทำงานของ EPI-Routine
การบันทึกค่าคงคลังของ EPI-Routine เพิ่มเติมเลข Lot บันทึกปริมาณคงคลัง ปุ่ม Save
การคำนวณโด๊สของ EPI-Routine บันทึกปริมาณคงคลัง บันทึกแปลงเป็น Dose ROP เป็น Dose
การแจ้งเตือนการบันทึก EPI-Routine
รายงานแสดงปริมาณการส่งมอบ EPI-Routine จำนวนส่ง เป็น Dose วันส่งวัคซีน
การบันทึกรับวัคซีนของ EPI-Routine บริเวณใส่ Pincode
การบันทึกรับวัคซีนของ EPI-Routine จำนวนวัคซีนที่ส่ง จำนวนรับจริง ปุ่มบันทึกค่า
วัคซีนไม่พอให้บริการ ให้เบิกจากคลังวัคซีน สสจ. หรือคลังวัคซีนที่ สคร. หากยังไม่เพียงพอให้ประสานงานมายังองค์การเภสัชกรรม ซึ่งจะส่งให้ภายใน 5 วันทำการ • วัคซีนในคลังหมดอายุก่อนถึงวันบริการ กรณี J.E และ OPV • การเบิกวัคซีนให้ สอ.มากเกินกว่าค่าพื้นฐานเดิมที่ระบบกำหนด เช่นกรณี การแบ่งงานระหว่างสถานบริการ • วัคซีนมีการเสียหาย หรือสูญเสียจากการส่งมอบหรือเก็บรักษา เช่น กรณีวัคซีน OPV แตกจาการส่งมอบ หรือ กรณีการเก็บเสียสภาพ • ปริมาณความต้องการใช้วัคซีนมีความแปรปรวนจากข้อมูลในระบบ เช่น กรณีของวัคซีนแรกคลอด BCG • กรณีวัคซีนขาดจากคลัง VMI เช่น กรณี BCG และ MMR ปัญหาที่พบบ่อย
กรณีเลื่อนวันให้บริการ หากเป็นเฉพาะคราวให้ประสานงานเป็นครั้งๆไป แต่หากจะเปลี่ยนแปลงทั้งจังหวัดตลอดไป ให้แจ้งที่องค์การเพื่อแก้ไขข้อมูลในระบบ • การติดวันหยุดในช่วงนักขัตฤกษ์ เช่น ปีใหม่ วันสงกรานต์ และช่วงของการตรวจสต๊อกประจำปี • การติดราชการของผู้ดูแลโครงการ VMI EPI-Routine • การเลื่อนกำหนดการจ่ายวัคซีน สอ.ทั้งจังหวัด ปัญหาที่พบบ่อย
การเปลี่ยนข้อมูลปริมาณวัคซีนพื้นฐาน จะทำได้เมื่อได้รับการพิจารณาจากเจ้าของโครงการ เท่านั้น โดยให้ข้อมูลการใช้ย้อนหลัง 3 เดือน และปริมาณที่ต้องการปรับเปลี่ยน • ปริมาณการเบิกวัคซีนมีความคลาดเคลื่อน จากสถานีอนามัย • การรวบรวมปริมาณการใช้ไม่ครบถ้วน เช่น • ไม่ได้รวมยอดของวัคซีนแรกคลอดจากห้องคลอด • ไม่ได้รวมปริมาณการใช้ dT ในคลินิกหญิงมีครรภ์ • การใช้วัคซีนไม่ตรงตามตารางของคณะกรรมการวัคซีนแห่งชาติ • ในบางครั้งการให้บริการวัคซีนแรกคลอดมีความเบี่ยงเบนสูง ปัญหาที่พบบ่อย
ปัญหาที่พบบ่อย • ปัญหาในช่วงแรกของการเริ่มให้บริการ • การโอนย้ายวัคซีนจากผู้รับผิดชอบเดิม จากคลังระดับจังหวัด เป็นคลังโรงพยาบาล • สถานที่เก็บวัคซีนที่มีอยู่ไม่เพียงพอ • วัคซีนที่รับมีการหมดอายุ หรือสภาพไม่เหมาะสม • ช่วงการเปลี่ยนถ่ายระบบการเบิกวัคซีนจากเดิมที่ สสอ. หรือหน่วยป้องกันโรค เป็นผู้ดูแล • การกำหนดผู้ดูแลรับผิดชอบการเบิกวัคซีนของ เภสัชกรรม
ปัญหาในการใช้ระบบ EPI Routine ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต • ส่ง (Post) ข้อมูลไม่ได้เนื่องจากเตือนค่าว่าง • เชื่อมต่อระบบไม่ได้ เนื่องจากระบบอินเตอร์เน็ต • เลข Lot Vaccine ไม่ตรงตามที่มีในคลังวัคซีน • ปริมาณวัคซีนที่จะส่งให้ไม่ตรงตามที่คำนวณได้ • ต้องการเปลี่ยนแปลงข้อมูลผู้รับผิดชอบ ผู้รับ SMS • ติดต่อองค์การเภสัชกรรมได้ตลอดเวลาทำการ • 02-203-8986-89 ปัญหาที่พบบ่อย
ครั้งที่ 1 สำหรับเภสัชกรในเขตภาคเหนือ • 1.วัคซีนพิษสุนัขบ้าจะเข้าร่วมโครงการ EPI หรือไม่? • การเบิกวัคซีนพิษสุนัขบ้าสำหรับปีงบประมาณนี้ขอให้เบิกผ่านระบบเดิม คือ เบิกผ่าน สสจ.สคร. และกรมควบคุมโรค เนื่องจากเป็นวัคซีนกลุ่มเสริม • 2.ปัญหาของการได้รับวัคซีนอายุสั้นจะหมดลงหรือไม่ • องค์การเภสัชกรรมมีนโยบายในการสำรองวัคซีนในโครงการให้มีจำนวนคงคลังประมาณ 6 เดือน ซึ่งน่าจะลดปัญหาวัคซีนอายุสั้นลงได้ ปัญหาเพิ่มเติมจากการนำเสนอ
ครั้งที่ 1 สำหรับเภสัชกรในเขตภาคเหนือ • 3.จำนวนจัดส่งที่ไม่ถูกต้อง • เภสัชกรผู้รับผิดชอบสามารถคำนวณได้จากปริมาณโด๊สที่ส่งมอบหารด้วยจำนวนโด๊สต่อขวด หรือตรวจสอบได้จากข้อมูลในการลงรับวัคซีนด้วย Pincode • 4.การปรับเปลี่ยนรูปแบบวัคซีนแบบ Multiple/Single • การพิจารณารูปแบบวัคซีนแต่ละชนิดมีข้อพิจารณาที่ต่างกันไป ทั้งในเรื่องของต้นทุนการผลิต/สูญเสีย และในเรื่องของเนื้อที่การเก็บรักษา อย่างไรก็ตามหากสถานการณ์เปลี่ยนไปก็สามารถที่จะปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ปัญหาเพิ่มเติมจากการนำเสนอ
ครั้งที่ 1 สำหรับเภสัชกรในเขตภาคเหนือ 5.ปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพการจัดส่ง ได้แจ้งผู้เกี่ยวข้องเพื่อให้ระมัดระวังในการขนส่งวัคซีนผ่านระบบ Cold Chain ให้ส่งผ่านพาหนะที่เหมาะสม และยังได้กำหนดให้มี Data Logerในเส้นทางการส่ง 10% ของการส่ง 6.การปรับข้อมูลผ่าน FM3 ขณะนี้มีการหารือว่าจะมีการเปลี่ยนแนวทางการปรับค่าพื้นฐานของปริมาณการใช้วัคซีนหรือไม่ ซึ่งหากได้ข้อสรุปจะมีการแจ้งให้ทราบต่อไป ปัญหาเพิ่มเติมจากการนำเสนอ
โครงการวัคซีนนักเรียน เด็กนักเรียน ป.1 ถึง ป.6 • ภาคต้นของปีการศึกษาทุกๆ ปี (อาจตกค้างภาคปลาย) • โครงการวัคซีนโปลิโอรณรงค์ sNID เดือน ธ.ค. และ ม.ค. • เด็กไทย 0-5 ปี เด็กต่างชาติ ต่ำกว่า 15 ปี • โครงการวัคซีนพิษสุนัขบ้า • หน่วยบริการได้รับการสนับสนุนผ่านระบบเดิม คือเบิกผ่าน สสจ. สคร. และกรมควบคุมโรค โครงการวัคซีนพื้นฐาน และวัคซีนเสริม อื่นๆ
ทีมงานองค์การเภสัชกรรม บริการ VMI และ ใบสั่งปกติ • 02-203-8986-9 • กทม. นนทบุรี สมุทรปราการ • 0-2203-8914, 0-2203-8916 • ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ • 0-2203-8996, 0-2203-8918 • ภาคกลาง และภาคตะวันออก • 084-700-3925, 0-2203-8927-9
Vaccine 9 รายการ หน่วยนับเป็น DOSE • บันทึกเป็นราย Lot No. • บันทึก Inventory เป็นขวด ระบบคำนวณเป็น Dose • VMI ส่งแบบเติมเต็ม ปัดเศษขึ้นให้เต็ม Pack • โรงพยาบาลมีกำหนดวันรับ Vaccine วันบันทึกข้อมูล • มีระบบ SMS จาก GPO เตือนการบันทึก Inventory บทสรุป