1 / 19

การอาชีวศึกษา 2

การอาชีวศึกษา 2. ดร.เมธี ธรรมวัฒนา. เฉลยความหมาย.

wilda
Download Presentation

การอาชีวศึกษา 2

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การอาชีวศึกษา2 ดร.เมธี ธรรมวัฒนา

  2. เฉลยความหมาย การเตรียมบุคลากรด้านฝีมือสำหรับอาชีพหนึ่งหรือกลุ่มอาชีพ สาขาหรืองาน ตามปกติจัดในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ซึ่งจะรวมทั้งการเรียนวิชาสามัญ การฝึกปฏิบัติ และวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สัดส่วนของวิชาเหล่านั้นอาจมีได้หลากหลาย แต่ต้องเน้นภาคปฏิบัติ (UNESCO) 1

  3. เฉลยความหมาย เป็นกระบวนการจัด การศึกษาเพื่อเข้าสู่ชีวิตการทำงาน เพื่อทำอาชีพ เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนระดับกึ่งฝีมือ (Semi-Skill) ระดับช่างฝีมือ (Skill) ระดับช่างเทคนิค (Technician) และระดับเทคโนโลยี (Technologist) ที่มีคุณภาพ และมาตรฐานสามารถตอบสนองตามความต้องการของตลาดแรงงาน และการประกอบอาชีพอิสระ (2)

  4. ประวัติการอาชีวศึกษาไทยประวัติการอาชีวศึกษาไทย ในปี พ.ศ.2453 ได้จัดตั้ง โรงเรียนอาชีวศึกษาแห่งแรก คือ โรงเรียนพาณิชยการที่วัดมหาพฤฒาราม และวัดราชบูรณะ ปี พ.ศ. 2456 จัดตั้งโรงเรียน เพาะช่าง และในแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2479 ได้ ปรากฏคำว่า "อาชีวศึกษา" เป็นครั้งแรกในระบบการศึกษาของประเทศไทย โดยแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ อาชีวศึกษา ชั้นต้น กลาง และสูง รับนักเรียนจากโรงเรียนสามัญศึกษาของทุกระดับประโยคและได้มีพระราชกฤษฏีการจัดวางระเบียบราชการในกรมอาชีวศึกษา แบ่งส่วนราชการออกเป็น 7 กอง นอกจากนี้ ในปี พ.ศ.ดังกล่าวได้ริเริ่มจัดตั้งวิทยาลัยเทคนิคหลัก 4 แห่งทั่วประเทศ คือ วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ (2495) วิทยาลัยเทคนิคภาคใต้ - สงขลา (2497) วิทยาลัยเทคนิคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ-นครราชสีมา (2499) และวิทยาลัยเทคนิคภาคเหนือ- เชียงใหม่(2500) ปล.รายละเอียดเจอกันสัปดาห์หน้ากับเกมไม่อัจฉริยะ ไม่ต้องค้างคืนด้วย ( 2 )

  5. หน่วยงานภายในกระทรวงศึกษาธิการหน่วยงานภายในกระทรวงศึกษาธิการ

  6. การอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.)มุ่งหวังและต้องการให้สถานศึกษาและหน่วยงานในสังกัดนำไปปฏิบัติและบูรณาการ การทำงานร่วมกันเพื่อก่อให้เกิดผลการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรมตามแนวทางหลัก 12 ข้อ คือ นโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ ศ.ดร.วิจิตร ศรีสะอ้าน พ.ศ. 2550 - 2551

  7. การอาชีวศึกษา 1. การเพิ่มปริมาณผู้เรียน 2. การจัดการเรียนการสอนของอาชีวศึกษาในโรงเรียนมัธยม 3. การเทียบโอนประสบการณ์และ VQ คุณวุฒิวิชาชีพ และมาตรฐานอาชีพ ที่นำสู่การปฏิบัติ 4. การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร 3 แนวทาง ( ผู้ใช้ ผู้ซ่อม ผู้สร้าง ) 5. ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ 6. ความร่วมมือกับสภาอุตสาหกรรม และสถานประกอบการ 7. การสร้างผู้ประกอบการใหม่ 8. การพัฒนาอาชีพแบบบูรณาการ 9. คุณธรรมนำชีวิต 10. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการด้านการเงิน บุคลากร และพัสดุ 11. วิธีการศึกษาดูงานของนักศึกษา ( ปวช 1 และ ปวส 1) 12. การจัดการความรู้

  8. เป้าหมายการผลิตกำลังคนการอาชีวศึกษาเป้าหมายการผลิตกำลังคนการอาชีวศึกษา • กลุ่มอุตสาหกรรม • เป้าหมาย สถานประกอบการ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิสูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน นักเรียน นักศึกษา อาชีวศึกษา ผู้ใช้ ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน ผู้สร้าง พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน)

  9. กลุ่มอุตสาหกรรมหลักของประเทศ13 กลุ่ม

  10. นักเรียนมัธยม ประชาชน ใช้ ซ่อม สร้าง VQ 2 VQ 3 VQ 4 VQ 5 ศึกษาต่อ สนองความต้องการชุมชนท้องถิ่น ( ช่างชุมชน ) VQ 6 VQ 7 กลุ่มเป้าหมายผู้เรียนอาชีวศึกษา กลุ่มเป้าหมาย พิเศษ คนด้อยโอกาส คนพิการ แรงงานในสถานประกอบการ เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ College shop Social shop Enterprise shop เทียบโอนประสบการณ์ การสอนทางไกล สถานประกอบการ อาชีพอิสระ 13 กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย

  11. ปรัชญา ปรัชญา คือ สิ่งจริงแท้ที่มีบนโลกนี้ โดยพื้นฐานของปรัชญาที่ต้องมีได้แก่ ความเชื่อ วัตถุประสงค์ และการปฏิบัติ การ์ตูน hesheit ตอนหนังสือปรัชญา

  12. คำถามที่รอคำตอบ • นิสิตได้แนวคิดอะไรบ้างจากการ์ตูนเรื่องนี้

  13. ปรัชญาอาชีวศึกษา ปรัชญา = ความเชื่อ หลักการ แนวคิด หลักการที่บุคคลมีต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และจะยึดปรัชญานั้นไปสู่การวางวัตถุประสงค์ และดำเนินการให้บรรลุ อาชีวศึกษา สัมพันธ์กับปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progressive) ที่มุ่งเน้นการศึกษาตลอดชีพ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เรียนรู้จากประสบการณ์ ผู้เรียนผู้สอนสัมพันธ์กัน โดยมี John Dewey เป็นผู้ริเริ่มให้แนวคิดการศึกษาคือการสร้างความเจริญงอกงาม (Education is growth) ที่มุ่งเน้นการส่งเสริมประสบการณ์ตรงให้แก่บุคคล เพื่อบุคคลจะได้เพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ให้ตนเอง

  14. ปรัชญาอาชีวศึกษา ปรัชญาของอาชีวศึกษาได้รับอิทธิพลอย่างมาก ซึ่งจะเห็นได้ว่าการจัดการศึกษาจะมีการมุ่งเน้นให้เกิดการปฏิบัติจริง และมีการปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอจนเกิดเป็นทักษะ ซึ่งก็คือการเรียนรู้โดยการกระทำ (Learning by doing) ซึ่งเป็นประโยคที่ติดหู และเป็นสัญลักษณ์ของการอาชีวศึกษาไปแล้ว

  15. อาชีวศึกษาแบ่งออกเป็นอาชีวศึกษาแบ่งออกเป็น อาชีวศึกษาดั้งเดิมแบ่งออกเป็น 5 กรรม ได้แก่ ช่างอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พณิชยกรรม คหกรรม ศิลปกรรม อาชีวศึกษาดั้งเดิมแบ่งออกเป็น 8 กรรม ได้แก่ ช่างอุตสาหกรรม เกษตรกรรม พณิชยกรรม คหกรรม ศิลปกรรม อุตฯสิ่งทอ อุตฯการประมง อุตฯท่องเที่ยว

More Related