1 / 120

ผู้สูงอายุ คุณคือคนสำคัญ

ผู้สูงอายุ คุณคือคนสำคัญ. โดย ภาณุ อดกลั้น 18 - 19 ธันวาคม 2553 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุดรธานี. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ. วัตถุประสงค์. บอกแนวโน้มประชากรผู้สูงอายุได้ อธิบายปัจจัยที่ทำให้ผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นได้ อธิบายผลของการมีประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นได้

Download Presentation

ผู้สูงอายุ คุณคือคนสำคัญ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผู้สูงอายุคุณคือคนสำคัญผู้สูงอายุคุณคือคนสำคัญ โดย ภาณุ อดกลั้น 18 - 19 ธันวาคม 2553 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุดรธานี

  2. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ วัตถุประสงค์ • บอกแนวโน้มประชากรผู้สูงอายุได้ • อธิบายปัจจัยที่ทำให้ผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้นได้ • อธิบายผลของการมีประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นได้ • บอกความหมายและลักษณะของความสูงอายุได้ • บอกสภาพปัญหาของผู้สูงอายุได้ • บอกมาตรฐานและหลักการพยาบาลผู้สูงอายุได้ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  3. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม • International Plan of Action on Ageing • AGE-FRIENDLY PRIMARY HEALTH CARE • older persons in emergencies • PP Normal Ageing for toolkit • WHO_NMH_NPH_02.8 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  4. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ความหมายของผู้สูงอายุ • “บุคคลที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป โดยนับตามปีปฏิทิน (อ้างตาม ผู้สูงอายุโลกขององค์การสหประชาชาติ)” • จากการศึกษาสามารถแบ่งผู้สูงอายุออกเป็นช่วงๆ - ผู้สูงอายุวัยต้น (early old age) อายุระหว่าง 65-74 ปี - ผู้สูงอายุวัยกลาง (middle old age) อายุระหว่าง 75-84 ปี - ผู้สูงอายุวัยกลาง (late old age) อายุ 85 ปีขึ้นไป 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  5. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ลักษณะของความสูงอายุ • มีความสัมพันธ์กับอายุ คือ กระบวนการชรา เริ่มขึ้นตั้งแต่ ปฏิสนธิ และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา จากเด็กเป็นผู้ใหญ่จนเข้าสู่วัยสูงอายุ • ลักษณะของความชราจะปรากฏออกมาในรูปแบบของความเสื่อมต่างๆ เช่น ผมหงอกขาว ผิวหนังเหี่ยวย่น 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  6. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ องค์ประกอบของความสูงอายุ • สิ่งที่ปรากฏเสมอ (universal) • ดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง (progressive) • เป็นความเสื่อม (detrimental) • ที่เกิดจากปัญหาภายใน (intrinsic factor) “ความสูงอายุเป็นความเสื่อมสภาพที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายในดำเนินไปอย่างต่อเนื่องและปรากฏให้เห็นได้ เกิดขึ้นกับทุกคน แต่ในอัตราเร็วช้าไม่เท่ากัน ขึ้นกับพันธุกรรม สิ่งแวดล้อม และแบบแผนการดำเนินชีวิต” 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  7. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ สภาพปัญหาของผู้สูงอายุ • ด้านสังคมวัฒนธรรม • ด้านการศึกษาและรายได้ • ด้านสุขภาพ “คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุด้อยลง และจำนวนไม่น้อยอยู่ในสภาพ ไร้เกียรติ” 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  8. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  9. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ สถานการณ์โลก 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  10. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ สถานการณ์โลก 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  11. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ สถานการณ์โลก 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  12. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ สถานการณ์โลก 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  13. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ สถานการณ์ไทย 1.จำนวนประชากรทั้งประเทศ62,829,000 2.จำนวนประชากรแยกตามเพศ ชาย                                                       31,001,000 หญิง                                                      31,828,000 3.ประชากรสูงอายุ ประชาการสูงอายุวัยต้น (60-79 ปีขึ้น)      6,172,000 ประชาการสูงอายุวัยปลาย (80-99 ปี)           648,000 ศตวรรษิกชน (100 ปีขึ้นไป)                          4,000 ประชากรสูงอายุทั้งหมด6,824,000 4.อายุขัยเฉลี่ยอายุ 60 ปี  (จำนวนปีเฉลี่ยที่คาดว่าผู้ที่มีอายุ 60 ปีจะมีชีวิตอยู่ต่อไปอีกกี่ปี) ชาย                                                                19.1 หญิง                                                               21.5 (ที่มา : สารประชากรมหาวิทยาลัยมหิดล  Mahidol Population Gazzette  ปีที่ 16 มกราคม 2550) 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  14. ลักษณะประชากรของประเทศไทย 2503 2503 70+ 65-69 60-64 55-59 50-54 45-49 40-44 35-39 30-34 25-29 20-24 15-19 10-14 5-9 0-4 หญิง ชาย 20 15 10 5 0 5 10 15 20

  15. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ลักษณะประชากรของประเทศไทย 2523 2523 70+ 65-69 60-64 55-59 50-54 45-49 40-44 35-39 30-34 25-29 20-24 15-19 10-14 5-9 0-4 ชาย หญิง 20 15 10 5 0 5 10 15 20

  16. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ลักษณะประชากรของประเทศไทย 2543 2543 70+ 65-69 60-64 55-59 50-54 45-49 40-44 35-39 30-34 25-29 20-24 15-19 10-14 5-9 0-4 หญิง ชาย 20 15 10 5 0 5 10 15 20

  17. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ลักษณะประชากรของประเทศไทย 2563 2563 70+ 65-69 60-64 55-59 50-54 45-49 40-44 35-39 30-34 25-29 20-24 15-19 10-14 5-9 0-4 หญิง ชาย 20 15 10 5 0 5 10 15 20

  18. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  19. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร • ประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น • เด็กเกิดลดลง • วัยทำงานลดลง • โครงสร้างประชากรจากปิรามิดเป็นรูปแจกัน • อัตราส่วนของผู้สูงอายุมากขึ้น • มีโรคเรื้อรังและเกิดภาระพึ่งพามากขึ้น • เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  20. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ 10 ข้อเท็จจริงของผู้สูงอายุโดยองค์การอนามัยโลก (10 facts on ageing and the life course) (www.who.ini.en,28 September 2007) ผู้สูงอายุตามข้อกำหนดขององค์การอนามัยโลก [WHO] กำหนดไว้ คือ ผู้ที่มีอายุมากกกว่าหรือเท่ากับ 60 ปี เป็นวัยที่มีการเสื่อมถอยในทุก ๆ ด้าน ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ในการดูแลจึงต้องอาศัยศาสตร์และศิลป์โดยแท้จริง 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  21. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ 10 ข้อเท็จจริงของผู้สูงอายุโดยองค์การอนามัยโลก (10 facts on ageing and the life course) (www.who.ini.en,28 September 2007) การมีชีวิตที่ยืนยาวคือสัญญาณของสุขภาพที่ดี ในพัฒนาประเทศนี่คือตัวบ่งชี้ของพัฒนาด้านสุขภาพของรัฐ ปัจจุบันประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นมีประมาณ 650 ล้านคน ประมาณการว่าในปี 2050 จะมีถึง 2 พันล้านคน แนวโน้มที่เพิ่มขึ้นดังกล่าวในศตวรรษที่ 21 นำมาสู่การเตรียมพร้อมในเรื่องผู้ให้คำแนะนำ และสังคมเพื่อให้เข้าใจความต้องการของผู้สูงอายุ จำเป็นต้องฝึกอบรมบุคลากรเพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุ การป้องกันโรค และการบริหารจัดการโรคเรื้อรัง การสร้างนโยบายการดูแลผู้สูงอายุที่ยั่งยืน รวมถึงการพัฒนาระบบที่อำนวยความสะดวกต่างๆ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  22. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ข้อเท็จจริงที่ 1 ความสูงอายุเป็นปรากฏการที่มีทั่วโลก และผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไปเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยประมาณการณ์ว่าปี ค.ศ. 2050 ผู้สูงอายุกว่า 80% จะอาศัยอยู่อยู่ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ผู้สูงอายุในชนบทก็เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเช่นกัน พบว่าในปี ค.ศ. 2007 ผู้สูงอายุมากว่าครึ่งอาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ และในปี ค.ศ. 2030 คาดว่าจะเพิ่มขึ้นมากกว่า 60% 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  23. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ข้อเท็จจริงที่ 2 ในศตวรรษที่ 21 นี้ในทั้งการพัฒนา และพัฒนาประเทศ พบว่าผู้สูงอายุในสังคมยุคใหม่จะใส่ใจในเรื่องสุขภาพทั่วโลก ซึ่งในปี ค.ศ.2005 ในญี่ปุ่น และฝรั่งเศส อายุเฉลี่ยประชากรมากกว่า 80 ปี และเพิ่มขึ้นในประเทศที่พัฒนา เช่น ซิลิในอเมริกาใต้, คอสตาริกา, จาเมกา, เลบานอน, ศรีลังกาหรือประเทศไทยอายุเฉลี่ยประชากร 70 ปี 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  24. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ข้อเท็จจริงที่ 3 มีความแตกต่างกันอย่างมากของอายุเฉลี่ยประชากร เช่น ญี่ปุ่นมีอายุเฉลี่ยประชากรสูงที่สุดในโลก 82.2 ปี ในขณะที่หลายประเทศในแอฟริกามีอายุเฉลี่ยประชากรต่ำกว่า 40 ปี 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  25. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ข้อเท็จจริงที่ 4 แม้กระทั่งภายในประเทศเดียวกันก็มีความแตกต่างของอายุเฉลี่ยประชากรอย่างมีนัยสำคัญ เป็นต้นว่าในสหรัฐอเมริกา ประชากรกลุ่มที่มีฐานะดีจะมีอายุเฉลี่ยประชากรสูงกว่าประชากรกลุ่มที่มีฐานะไม่ดีถึง 20 ปี 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  26. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ข้อเท็จจริงที่ 5 ภายในปี ค.ศ.2050 ผู้ที่เสียชีวิตกว่า 80% จะเป็นประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป แต่ด้านงบประมาณในการดูแลเรื่องดังกล่าวจะน้อย ความมีอายุที่ยืนยาวขึ้นของประชากรจะต้องประกอบด้วยนโยบายในการดูแลผู้สูงอายุที่เหมาะสมและมีกองทุนประกันสุขภาพผู้สูงอายุอีกด้วย 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  27. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ข้อเท็จจริงที่ 6 ผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีต้องได้รับการใส่ใจจากครอบครัว ชุมชน และระบบเศรษฐกิจ การลงทุนในสุขภาพต้องเกิดขึ้นทุกๆภาคส่วนในสังคม เป็นการยากลำบากที่จะใช้เพียงการประชาสัมพันธ์เพื่อปรับเปลี่ยนความประพฤติของบุคคล เป็นต้นว่า ความเสี่ยงจากการเสียชีวิตก่อนเวลาอันควรจะลดลงประมาณ 50% ถ้าหากบุคคลเลิกการสูบบุหรี่ระหว่าง 60 และ 75 ปี เป็นต้น 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  28. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ข้อเท็จจริงที่ 7 การใช้ศูนย์สุขภาพชุมชนในการประชาสัมพันธ์ในการดูแลสุขภาพอย่างได้ผลในการป้องกันโรค และบริหารจัดการโรคเรื้อรังในคนไข้ที่มีและที่รักษาไม่ต่อเนื่อง โดยทั่วไปต้องฝึกอบรมบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญในการให้คำแนะนำ การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่มีอาการเล็กน้อย ซึ่งองค์การอนามัยโลกได้มีการดูแลผู้ให้คำปรึกษาโดยการจัดฝึกอบรมเกี่ยวกับประเด็นผู้สูงอายุโดยตลอด 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  29. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ข้อเท็จจริงที่ 8 ผลกระทบอย่างรุนแรงจากสาธารณภัยและอุบัติเหตุต่อผู้สูงอายุ เช่น ในปี ค.ศ.2004 การเกิดคลื่นยักษ์ tsunami เป็นสาเหตุการตายของผู้สูงอายุจำนวนมากในอินโดนีเซีย และ ในปี ค.ศ.2003 ผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์คลื่นความร้อนในยุโรปคือผู้สูงอายุตั้งแต่ 70 ปีขึ้นไป ดังนั้นจึงควรมีนโยบายที่จะปกป้องผู้สูงอายุระหว่างที่เกิดภาวะฉุกเฉินอย่างถูกต้องและเร่งด่วน 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  30. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ข้อเท็จจริงที่ 9 ความเสี่ยงจากการหกล้มในผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น และ เกิดผลเสียจากการบาดเจ็บดังกล่าวมากมาย และทำให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น เช่น ในออสเตรเลียค่าใช้จ่ายในการดูแลผู้สูงอายุที่บาดเจ็บจากการหกล้มในกลุ่มอายุตั้งแต่ 65 ปี ขึ้นไปในปี ค.ศ.2001 ถึง 2002 ประมาณ 3,611 เหรียญสหรัฐต่อคน 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  31. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ข้อเท็จจริงที่ 10 ผู้สูงอายุที่ถูกทารุณกรรมมีจำนวนเพิ่มขึ้นในขณะที่สังคมเกิดการเปลี่ยนแปลง องค์การอนามัยโลกประมาณการไว้ว่าผู้สูงอายุในโลกประมาณ 4% ถึง 6% ได้รับความทุกข์ทรมานจากการถูกทารุณกรรม ไม่ได้รับการดูแล ทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ เศรษฐกิจ หรือจากการไม่สนใจ ซึ่งการทารุณกรรมผู้สูงอายุเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  32. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ความเป็นมา องค์การสหประชาชาติได้จัดประชุมสมัชชาโลกว่าด้วยผู้สูงอายุขึ้น ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ พร้อมทั้งได้เชิญชวนให้ประเทศสมาชิกจัดกิจกรรมเพื่อผู้สูงอายุ ปี พ.ศ.๒๕๓๔ สมัชชาองค์การสหประชาชาติได้รับรองสิทธิของผู้สูงอายุในด้านความอิสระ การมีส่วนร่วม การดูแลเอาใจใส่ ความพึงพอใจในตนเองและศักดิ์ศรี รวม ๒๐ ประการ ปี พ.ศ.๒๕๔๒องค์การสหประชาชาติได้ประกาศให้ปี พ.ศ.๒๕๔๒ เป็นปีสากลว่าด้วยผู้สูงอายุ ปี พ.ศ.๒๕๒๕ ประเทศไทย คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้วันที่ ๑๓ เมษายน ของทุกปี เป็นวัน “ผู้สูงอายุแห่งชาติ”และได้มีการจัดงานวันผู้สูงอายุแห่งชาติตั้งแต่บัดนั้นจนถึงปัจจุบัน 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  33. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย๑ สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ตราไว้ ณ วันที่ ๒๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๕๐ เป็นปีที่ ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบัน มาตรา ๕๓ บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรี และความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ มาตรา ๘๐ รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้านสังคม การสาธารณสุขการศึกษา และวัฒนธรรม ดังต่อไปนี้ (๑) คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุนการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัยส่งเสริมความเสมอภาคของหญิงและชาย เสริมสร้างและพัฒนาความเป็นปึกแผ่นของสถาบันครอบครัวและชุมชน รวมทั้งต้องสงเคราะห์และจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพและผู้อยู่ในสภาวะยากลำบาก ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและพึ่งพาตนเองได้ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  34. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ปฏิญญาผู้สูงอายุไทยฉบับนี้ได้รับความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๒ ข้อ ๑ ปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี ได้รับการพิทักษ์และคุ้มครอง ให้พ้นจากการถูกทอดทิ้ง และละเมิดสิทธิ ข้อ ๒ อยู่กับครอบครัวโดยได้รับความเคารพรัก ความเข้าใจ ความเอื้ออาทร การดูแลเอาใจใส่ การยอมรับ ข้อ ๓ ได้รับโอกาสในการศึกษา เรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง ข้อ ๔ ถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ให้สังคมมีโอกาสได้ทำงานที่เหมาะสมโดย ได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม ข้อ ๕ เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองมีหลักประกันและสามารถเข้าถึงบริการ ด้านสุขภาพอนามัยอย่างครบวงจร โดยเท่าเทียมกัน 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  35. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ ปฏิญญาผู้สูงอายุไทยฉบับนี้ได้รับความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๒ ข้อ ๖ มีบทบาท และส่วนร่วมในกิจกรรมของครอบครัว ชุมชน สังคม ข้อ ๗ สถาบันสังคมต้องกำหนดนโยบายและแผนหลักด้านผู้สูงอายุ ข้อ ๘ สถาบันสังคมต้องตรากฎหมายว่าด้วยผู้สูงอายุ ข้อ ๙ สถาบันสังคมต้องรณรงค์ปลูกฝังค่านิยมให้สังคมตระหนักคุณค่าของผู้สูงอายุ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  36. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุพ.ศ. ๒๕๔๖---------------------------ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๖เป็นปีที่ ๕๘ ในรัชการปัจจุบัน มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัตินี้“ผู้สูงอายุ” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไปและมีสัญชาติไทย“กองทุน” หมายความว่า กองทุนผู้สูงอายุ“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ“คณะรัฐมนตรีผู้รับผิดชอบ” หมายความว่า รัฐมนตรีเจ้าสังกัดของหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบเกี่ยวกับการคุ้มครอง การส่งเสริมและการสนับสนุนผู้สูงอายุตามมาตรา ๑๑ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  37. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุพ.ศ. ๒๕๔๖---------------------------ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๖เป็นปีที่ ๕๘ ในรัชการปัจจุบัน มาตรา ๑๑ ผู้สูงอายุมีสิทธิได้รับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนในด้านต่างๆ ดังนี้(๑) การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่จัดไว้โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ(๒) การศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต(๓) การประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพที่เหมาะสม(๔) การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมการรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่ายหรือชุมชน(๕) การอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะหรือการบริการสาธารณะอื่น(๖) การช่วยเหลือด้านค่าโดยสารยานพาหนะตามความเหมาะสม(๗) การยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  38. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุพ.ศ. ๒๕๔๖---------------------------ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.ให้ไว้ ณ วันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๖เป็นปีที่ ๕๘ ในรัชการปัจจุบัน (๘) การช่วยเหลือผู้สูงอายุซึ่งได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรมหรือถูกแสวงหาประโยชน์โดย มิชอบด้วยกฎหมาย หรือถูกทอดทิ้ง(๙) การให้คำแนะนำ ปรึกษา ดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในทางคดีหรือในทางการแก้ไขปัญหา ครอบครัว(๑๐) การจัดที่พักอาศัย อาหารและเครื่องนุ่งห่มให้ตามความจำเป็นอย่างทั่วถึง(๑๑) การสงเคราะห์เบี้ยยังชีพตามความจำเป็นอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม(๑๒) การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี(๑๓) การอื่นตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  39. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ได้จัดแบ่งยุทธศาสตร์ออกเป็น 5 ยุทธศาสตร์ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ด้านการเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุ ที่มีคุณภาพ 1. หลักประกันด้านรายได้ 2. การให้การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3. การปลุกจิตสำนึกให้คนในสังคมตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  40. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ยุทธศาสตร์ที่2 ยุทธศาสตร์ด้านการส่งเสริมผู้สูงอายุ 1.ส่งเสริมความรู้ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันดูแลตนเองเบื้องต้น 2.ส่งเสริมการอยู่ร่วมกันและสร้างความเข้มแข็งขององค์กรผู้สูงอายุ 3.ส่งเสริมด้านการทำงานและการหารายได้ของผู้สูงอายุ 4.สนับสนุนผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ 5. สนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้รับความรู้และสามารถเข้าถึงข่าวสารและสื่อ 6. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมและปลอดภัย 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  41. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ยุทธศาสตร์ที่3 ยุทธศาสตร์ด้านระบบคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุ 1. คุ้มครองด้านรายได้ 2. หลักประกันด้านสุขภาพ 3. ด้านครอบครัว ผู้ดูแล และการคุ้มครอง 4. ระบบบริการและเครือข่ายการเกื้อหนุน 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  42. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ยุทธศาสตร์ที่4 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติและการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ 1. การบริหารจัดการเพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุระดับชาติ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  43. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) ยุทธศาสตร์ที่5 ยุทธศาสตร์ด้านการประมวลและพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ และติดตามประเมินผล การดำเนินการตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ 1. สนับสนุนและส่งเสริมให้หน่วยงานวิจัยดำเนินการประมวล และพัฒนาองค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ 2. สนับสนุนและส่งเสริมการศึกษาวิจัยด้านผู้สูงอายุ 3. ดำเนินการให้มีการติดตามประเมินผลการดำเนินการตามแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ 4. พัฒนาระบบข้อมูลทางด้านผู้สูงอายุให้เป็นระบบและทันสมัย 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  44. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ What is “Active Ageing”? Active ageing is the process of optimizing opportunities for health, participation and security in order to enhance quality of life as people age. Active ageing applies to both individuals and population groups. It allows people to realize their potential for physical, social, and mental well being throughout the life course and to participate in society according to their needs, desires and capacities, while providing them with adequate protection, security and care when they require assistance. 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  45. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ Active Ageing Policies and Programmes • fewer premature deaths in the highly productive stages of life • fewer disabilities associated with chronic diseases in older age • more people enjoying a positive quality of life as they grow older • more people participating actively as they age in the social, cultural, economic and political aspects of society, in paid and unpaid roles and in domestic, family and community life • lower costs related to medical treatment and care services. 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  46. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  47. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  48. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  49. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

  50. มโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุมโนทัศน์และทฤษฎีการสูงอายุ 1. Health • Hearing and vision. • Tobacco. • Physical activity. • Barrier-free living. • Nutrition. • Quality of life. • Oral health. • Social support. • Psycho. factors. • HIV and AIDS. • Alcohol and drugs. • Mental health. • Clean environments. 18 – 19 ตุลาคม 53 ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี โดย ภาณุ อดกลั้น

More Related